Page 28 - ไทยศึกษา
P. 28
๙-18 ไทยศึกษา
๒) เน้อื หาแนวจรรโลงใจ แบง่ เป็น
(๑) วรรณกรรมนิทานร้อยกรอง หมายถึง เรื่องนิทานต่างๆ ท่ีแต่งด้วยร้อยกรอง
รปู แบบตา่ งๆ
(๒) วรรณกรรมบทละคร เรื่องนทิ านทป่ี ระพนั ธ์เพอ่ื การแสดงละครใชอ้ า่ นไดด้ ว้ ย
(๓) วรรณกรรมนิราศ ร้อยกรองแสดงอารมณ์และความรู้สึกของกวีเม่ือจากบ้านและ
ผูเ้ ป็นท่ีรัก ส่วนใหญเ่ ปน็ บนึ ทึกการเดนิ ทาง
๓) วรรณกรรมปจั จบุ นั เปน็ วรรณกรรมแนวใหมท่ ไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากตะวนั ตก แยกยอ่ ยเปน็
ประเภทบนั เทงิ คดี และสารคดี
๒. การแบ่งประเภทวรรณกรรมมีประโยชน์ในการศึกษาวรรณกรรมโดยตรง เฉพาะจะช่วยให้
ศึกษาได้ละเอียดเป็นเร่ืองๆ ไป เช่น อาจจะศึกษาเน้ือหาดังเช่นในข้อ ๑. หรือศึกษาตามลักษณะการ
ประพนั ธ์ เป็นร้อยแก้ว หรอื รอ้ ยกรอง ซงึ่ จ�ำแนกประเภทยอ่ ยๆ ลงไปไดอ้ ีก
อยา่ งไรกด็ ี เราไมอ่ าจแบ่งวรรณกรรมให้แยกจากกนั โดยเด็ดขาดได้ เนือ่ งจากวรรณกรรมจะต้อง
ประกอบดว้ ยเนือ้ หา และรูปแบบการประพนั ธ์ เชน่ อาจมเี น้อื หาเป็นนริ าศ ใช้รปู แบบการประพันธ์ กลอน
หรือเน้ือหาเป็นค�ำสอน ใช้รูปแบบการประพันธ์แบบร่ายสุภาพ หรือเนื้อหาเป็นวรรณกรรมเชิงประวัติ ใช้
รปู แบบการประพนั ธเ์ ปน็ ลลิ ิตสภุ าพ เป็นตน้