Page 33 - ไทยศึกษา
P. 33
วรรณกรรมไทย ๙-23
๒. วรรณกรรมค�ำสอน
วรรณกรรมค�ำสอนมีอยู่ทุกสมัยและเป็นวรรณกรรมที่ก่อประโยชน์อย่างมากในการช่วยให้ชน
ทกุ ชัน้ รู้จกั หน้าทีข่ องตน ประพฤติตนอยใู่ นกรอบจริยธรรม ท�ำใหส้ งั คมมคี วามสงบเรยี บร้อยตลอดมา ดงั
จะได้ประมวลสาระของวรรณกรรมค�ำสอนท่ดี เี ด่นเป็นทีร่ ู้จกั แพร่หลายในแต่ละสมัย พอเป็นสังเขปดงั นี้
ภาพท่ี ๙.๖ สุภาษติ พระรว่ ง
สุภาษิตพระร่วง มหี ลายส�ำนวน สำ� นวนทแี่ พร่หลายที่สุดประพันธ์รา่ ยสภุ าพ ไดจ้ ารกึ ไวบ้ นแผ่น
ศลิ าวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม เรอ่ื งนบ้ี างทเี รยี กกนั วา่ บณั ฑติ พระรว่ ง ดว้ ยเหตทุ เ่ี รอื่ งนมี้ คี ำ� วา่ พระรว่ ง
ปนอยดู่ ว้ ย จึงทำ� ให้เข้าใจกันวา่ เป็นวรรณกรรมสมยั สุโขทยั แตก่ ไ็ ดม้ กี ารศกึ ษากันอย่างละเอยี ดในเร่อื งน้ี
แลว้ สภุ าษติ พระรว่ งฉบบั นนี้ า่ จะเปน็ วรรณกรรมสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ อยา่ งไรกด็ ี ในสมยั พระบาทสมเดจ็ -
พระเจา้ อยู่หวั บรมโกศ มโี คลงประดิษฐ์พระร่วง ซ่ึงมีเนอ้ื ความคลา้ ยๆ กนั เรือ่ งน้จี ึงขยายมาจากสุภาษติ
พระร่วงฉบับด้ังเดมิ ก็ได้ สุภาษิตพระร่วงมุ่งสอนคนท่วั ไป สอนตลอดชีวติ เชน่ สอนใหเ้ รียนวิชาในวยั เดก็
ให้รู้จักท�ำมาหากิน หาทรัพย์สินเม่ือเป็นผู้ใหญ่ ไม่โลภอยากได้ของผู้อื่น ให้ระมัดระวังตัวตลอดเวลา
สอนถงึ การอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ทง้ั กบั คนเสมอกนั และคนทอ่ี ยใู่ นฐานะสงู กวา่ ใหร้ ผู้ ดิ รถู้ กู รจู้ กั รกั ษาศกั ดศ์ิ รขี อง
ตน เปน็ ตน้
โคลงทศรถสอนพระราม เป็นค�ำสอนท่ีมุ่งสอนผู้จะเป็นพระราชา เรียกว่า ราชธรรมส�ำหรับ
พระราชาในเรื่องการปกครองบ้านเมือง หลักการวางพระองค์ในฐานะพระประมุข ในเร่ืองอาศัยเนื้อความ
จากเรอื่ งรามเกยี รต์ิ ตอนทา้ วทศรถสอนพระราม เมอื่ จะยกราชสมบตั ใิ หค้ รองกรงุ อโยธยา พระราชาตง้ั อยู่
ในทศพธิ ราชธรรม ดูแลประชาราษฎรดจุ บดิ าดแู ลบตุ ร