Page 34 - ไทยศึกษา
P. 34
๙-24 ไทยศึกษา
โคลงพาลีสอนน้อง เปน็ คำ� สอนผเู้ ปน็ ขนุ นางขา้ ราชการใหย้ ดึ มน่ั ในหนา้ ทขี่ องตน ทำ� ราชการดว้ ย
ความขยนั หมนั่ เพยี ร อาสาพระเจา้ แผน่ ดนิ ทำ� ราชกจิ ใหเ้ ตม็ ที่ รจู้ กั วางตวั ใหเ้ หมาะสมทง้ั ในการเขา้ เฝา้ อยา่ ง
ใกล้ชิด ให้เรียนรู้วิธีกราบบังคมทูลเพ่ือความเป็นข้าราชการที่ดี ผู้ประพันธ์อาศัยเหตุการณ์จากเร่ือง
รามเกียรติ์ ตอนพาลเี รยี กนอ้ ง คือสคุ รีพ และลกู ชายคอื องคต มาสอนให้เปน็ ขา้ ราชการท่ดี ีของพระราม
โคลงราชสวัสด์ิ น�ำค�ำสอนมาจากวทิ ุรชาดก สอนถึงหลกั การเป็นอำ� มาตย์ (ขนุ นาง) ท่ีดี ท�ำสง่ิ
อนั พงึ ประพฤตโิ ดยเฉพาะขา้ ราชบรพิ ารทถี่ วายการรบั ใชใ้ กลช้ ดิ พระราชา ใหเ้ ปน็ ผซู้ อ่ื ตรง รจู้ กั สถานภาพ
ของตน มคี วามจงรักภกั ดี เป็นต้น
วรรณกรรมค�ำสอนทั้ง ๓ เรอ่ื งนี้ เดิมเชอื่ กันว่าเปน็ พระราชนพิ นธ์ในสมเด็จพระนารายณม์ หาราช
ต่อมาไดม้ กี ารคน้ พบขอ้ มูลในสมุดไทย ระบุวา่ เป็นพระราชนิพนธใ์ นสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศ3
โคลงโลกนิติ เป็นสภุ าษิตเกา่ มมี าต้ังแต่ครั้งกรงุ ศรอี ยุธยา เปน็ วรรณกรรมทรี่ วบรวมสุภาษิตจาก
คาถาในภาษาบาลแี ละสนั สกฤตหลายแหลง่ ใน พ.ศ. ๒๓๗๔ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดศิ ร
ทรงช�ำระโคลงเก่ามาเรียบเรียงปรับปรุงใหม่ให้ไพเราะขึ้น บางบทได้นิพนธ์ข้ึนใหม่ โคลงโลกนิติเป็น
วรรณกรรมทจี่ บั ใจคนทกุ สมัย บางบทสอนโดยตรง เชน่ สอนไม่ให้คบคนพาล สว่ นใหญ่ไมส่ อนตรงๆ แต่
ใหข้ อ้ คดิ ดว้ ยการเปรยี บเทยี บ เชน่ เปรยี บใหเ้ หน็ วา่ เราสามารถวดั ความสงู ของภเู ขา วดั ความลกึ ของทะเล
ได้ แตเ่ ราไมส่ ามารถหยงั่ รใู้ จคนได้ บางบทบอกใหร้ วู้ า่ การนนิ ทาวา่ รา้ ยเปน็ เรอื่ งทห่ี า้ มไมไ่ ด้ โคลงโลกนติ ิ
เปน็ ทน่ี ยิ มและไมล่ า้ สมยั เนอ่ื งจากมคี วามไพเราะ ใชค้ ำ� นอ้ ยกนิ ความมาก เนอื้ ความชวนคดิ ชวนไตรต่ รอง
กฤษณาสอนนอ้ งคำ� ฉนั ท์ เปน็ สภุ าษติ ทม่ี งุ่ สอนสตรใี หป้ ระพฤตติ วั ในฐานะของสตรแี ละภรรยาทด่ี ี
เรื่องนีม้ ี ๒ ฉบับ ฉบับแรกเปน็ วรรณกรรมสมัยกรงุ ธนบรุ ี เป็นงานนพิ นธ์ของพระภกิ ษอุ ินท์ อกี ฉบบั เป็น
พระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ท่ีทรงนิพนธ์ข้ึนใหม่ มีความไพเราะ
มากกวา่ ฉบบั แรก สอนใหส้ ตรรี คู้ ณุ คา่ ของความเปน็ มนษุ ย์ เพราะวา่ มนษุ ยน์ น้ั เมอื่ สนิ้ ชพี ไปแลว้ สง่ิ ทเ่ี หลอื
อยู่คอื ความดีเทา่ นน้ั เป็นค�ำสอนใหส้ ตรวี างตัวในโอกาสตา่ งๆ ทเ่ี หมาะสม ประพฤติตนเป็นภรรยาท่ีดี
สวัสดิรักษา เป็นสุภาษติ สอนชาย มอี ยู่ ๒ ฉบับ คือ สวสั ดริ กั ษาค�ำฉันท์ เปน็ งานประพันธ์สมัย
อยุธยา และสวัสดิรักษาค�ำกลอน เป็นผลงานของสุนทรภู่ เน้ือความใกล้เคียงกัน เนื่องจากสุนทรภู่ได้น�ำ
เนอ้ื หาจากเรอื่ งสวสั ดริ กั ษาคำ� ฉนั ทม์ าเขยี นใหมใ่ หเ้ ขา้ ใจงา่ ยขนึ้ แลว้ แตง่ บางเรอ่ื งไวด้ ว้ ย เชน่ การแตง่ กาย
ดว้ ยสปี ระจำ� วนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ สริ มิ งคลในการออกรบ สวสั ดริ กั ษาเปน็ คำ� กลอนใหป้ ระโยชนแ์ กค่ นทว่ั ไปอยา่ งมาก
นอกจากจะสอนวถิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการดำ� เนนิ ชวี ติ ประจำ� วนั อยา่ งละเอยี ด ตง้ั แตต่ นื่ นอนเชา้ ไปจนถงึ เวลาเขา้ นอน
ยงั สอนใหค้ �ำนงึ ถึงส่งิ แวดลอ้ ม เช่น ห้ามถา่ ยอจุ จาระ ปัสสาวะลงแมน่ ำ้� เปน็ ต้น คำ� สอนทัง้ หลายมุ่งให้เกดิ
สวัสดิมงคลแก่ผู้ปฏิบัติ ค�ำสอนทุกบททุกตอนมุ่งให้แต่ละคนด�ำเนินชีวิตด้วยความรอบคอบ ให้อยู่อย่าง
สะอาดและสงบท้ังกายและใจ
เพลงยาวถวายโอวาท เปน็ บทประพนั ธข์ องสนุ ทรภทู่ ม่ี งุ่ ถวายโอวาทแกศ่ ษิ ยซ์ งึ่ เปน็ พระราชโอรส
๒ พระองคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั คอื เจา้ ฟา้ กลาง (สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหามาลา กรมพระยา
3 นิยะดา เหลา่ สนุ ทร. (๒๕๓๕). พาลสี อนนอ้ ง ทศรถสอนพระราม ราชสวสั ด:์ิ ใครแตง่ . ใน พนิ จิ วรรณกรรม. กรุงเทพฯ:
น. ๕๖-๕๗.