Page 24 - ไทยศึกษา
P. 24

๙-14 ไทยศึกษา
       พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาภาษาอังกฤษและโปรดฯ ให้พระโอรสพระธิดา

และข้าราชบริพารศึกษาภาษาอังกฤษด้วย ต่อมาสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงส่ง
พระโอรสไปศกึ ษาในยโุ รป เรม่ิ มผี ไู้ ปศกึ ษาตา่ งประเทศมากขนึ้ ผรู้ ภู้ าษาตา่ งประเทศมมี ากขนึ้ ประกอบกบั
ความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยแี ละวทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ ของใหมท่ รี่ บั เขา้ มา เปน็ เหตใุ หม้ คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งหา
ศัพทใ์ หมๆ่ เพิ่ม จึงทำ� ให้มีค�ำยมื ค�ำทับศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศ โดยเฉพาะคำ� ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
มากข้ึน

       อทิ ธพิ ลจากตา่ งประเทศทางตะวนั ตกทำ� ใหป้ ระเทศไทยไดร้ บั อทิ ธพิ ลทงั้ ดา้ นภาษารวมทงั้ รปู แบบ
ใหมๆ่ ทางวรรณกรรม เช่น บันเทงิ คดแี บบใหม่ ได้แก่ เรอื่ งสน้ั นวนยิ าย นอกจากน้ียังมีสารคดปี ระเภท
ตา่ งๆ รวมทง้ั สอื่ สารมวลชนนานาประเภท ลว่ งมาถงึ สมยั ปจั จบุ นั อนั เปน็ สมยั ของโลกไรพ้ รมแดน หรอื สมยั
โลกาภวิ ตั น์ ความเจรญิ ตา่ งๆ ในโลกสมยั ใหมก่ อ่ ใหเ้ กดิ แนวคดิ ใหมร่ วมทงั้ ปรชั ญาในการดำ� เนนิ ชวี ติ แบบใหม่
สง่ ผลใหว้ รรณกรรมปจั จบุ นั มปี รมิ าณมากขนึ้ และมีความแปลกใหมท่ ้งั การใช้ภาษารูปแบบและแนวคิด

       กล่าวโดยสรุปปัจจยั ตา่ งๆ ทีส่ ่งผลต่อวรรณกรรมไทยก็คือ เหตกุ ารณ์บา้ นเมืองและความเปน็ ไป
ในสังคม เพราะผู้สร้างวรรณกรรมเป็นบุคคลท่ีอยู่ในสังคมนั้น สภาพสังคมจึงมีอิทธิพลต่อแนวคิดของ
ผู้ประพันธ์วรรณกรรม เรื่องราวต่างๆ ในวรรณกรรมจึงมักสะท้อนภาพสังคมในสมัยของวรรณกรรมนั้น
ในขณะเดยี วกนั ผปู้ ระพันธ์ที่มีแนวคดิ ขอ้ สังเกตทแี่ หลมคมก็อาจชนี้ ำ� สงั คมได้ ดังนัน้ วรรณกรรมกบั สงั คม
จงึ มคี วามสมั พนั ธก์ นั ตลอดมา เราอยากรสู้ ภาพสงั คมสมยั ใดกค็ วรอา่ นวรรณกรรมสมยั นนั้ ๆ จงึ จะเขา้ ใจได้
ถ่องแท้ เพราะวรรณกรรมจะบันทึกรายละเอียดต่างๆ ของสังคม ท้ังที่ผู้ประพันธ์ตั้งใจและไม่ต้ังใจ
ประสบการณต์ า่ งๆ ทผี่ ปู้ ระพนั ธถ์ า่ ยทอดไวใ้ นวรรณกรรมนน้ั บางอยา่ งประวตั ศิ าสตรก์ ไ็ มไ่ ดบ้ นั ทกึ ไว้ การ
อ่านวรรณกรรมจงึ ทำ� ใหผ้ ู้อา่ นไดเ้ รยี นร้แู ละเพิม่ พนู ประสบการณไ์ ดม้ าก

กิจกรรม ๙.๑.๒
       ๑. 	สรุปปัจจยั ต่างๆ ท่ีสง่ ผลต่อวรรณกรรมไทย
       ๒. 	เหตกุ ารณ์บา้ นเมืองมีความส�ำคญั ต่อวรรณกรรมอยา่ งไร

แนวตอบกิจกรรม ๙.๑.๒
       ๑. 	สรปุ ปจั จัยต่างๆ ท่ีส่งผลต่อวรรณกรรมไทยได้ดงั นี้
            (๑)	เหตุการณ์บ้านเมือง ส่งผลต่อความเจริญความเสื่อม รวมทั้งลักษณะของวรรณกรรม

ถ้าบา้ นเมอื งสงบ วรรณกรรมกจ็ ะเจริญกวา่ ยามบา้ นเมืองมีปัญหา
            (๒)	ภาวะผนู้ �ำ ถา้ ผูน้ �ำส่งเสริมวรรณกรรมก็รุง่ เรอื ง
            (๓)	อปุ กรณก์ ารผลติ วรรณกรรม มสี ว่ นสำ� คญั ในการเผยแพรว่ รรณกรรม เชน่ ความกา้ วหนา้

ดา้ นการพิมพ์ เป็นตน้
            (๔)	การศึกษาของทวยราษฎร์ เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลแก่ผู้สร้าง และผู้เสพวรรณกรรม

สมยั กอ่ นคนอา่ นหนังสือออกมนี อ้ ย การประพนั ธ์วรรณกรรมและการอา่ นวรรณกรรมจึงอยใู่ นวงแคบ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29