Page 20 - ไทยศึกษา
P. 20
๙-10 ไทยศึกษา
เร่ืองท่ี ๙.๑.๒
ปัจจัยที่ส่งผลต่อวรรณกรรมไทย
วรรณกรรมเกดิ ขนึ้ ในสงั คมมนษุ ยท์ เี่ จรญิ แลว้ มนษุ ยห์ รอื คนโดยทว่ั ไปมคี วามตอ้ งการพน้ื ฐานของ
ชวี ติ คือ ปจั จยั ส่ี ได้แก่ อาหาร ทีอ่ ยอู่ าศัย เครอ่ื งนงุ่ ห่ม และยารักษาโรค
แต่ “คนไม่ได้มีชีวิตอยู่ได้แต่เรื่องกินข้าวอย่างเดียวเหมือนกับส่ิงที่มีชีวิตท้ังหลาย คนยังมีจิตใจ
ซงึ่ ตอ้ งการอาหารทางความงาม ความไพเราะ หรอื สนุ ทรยี ภาพดว้ ย คนจงึ ยงั ตอ้ งการฟงั เรอ่ื งนยิ าย นทิ าน
ดูหนัง ดูละคร และฟังดนตรี เป็นต้น” ดังนั้นจะมีการเล่านิยาย นิทาน การแสดงระบ�ำร�ำฟ้อน การเล่น
ดนตรที ต่ี า่ งๆ เพอ่ื สรา้ งความบนั เทงิ แกค่ นในสงั คม สำ� หรบั วรรณกรรมนนั้ ในยคุ แรกๆ คงเลา่ สกู่ นั ฟงั เปน็
ลกั ษณะของวรรณกรรมมขุ ปาฐะ ตอ่ เมอ่ื มพี ฒั นาการทางดา้ นภาษาและตวั อกั ษร จงึ มกี ารบนั ทกึ วรรณกรรม
เป็นวรรณกรรมลายลักษณ์อักษรขึ้น ดังเช่นวรรณกรรมไทยเล่ากันด้วยปากต่อปากมาเป็นเวลานาน
จนกระทง่ั เราไดพ้ บการบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรครงั้ แรกในลกั ษณะของการจดจารกึ ไวใ้ นศลิ าจารกึ สมยั
สุโขทัย ดังเช่น จารึกหลักท่ี ๑ ของพ่อขุนรามค�ำแหง เมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๖ ก่อนหน้านั้นจะมีการบันทึกไว้
หรอื ไม่ เราไมอ่ าจทราบไดเ้ นอ่ื งจากไมม่ หี ลกั ฐาน หลงั จากศลิ าจารกึ เปน็ ตน้ มาวรรณกรรมไทยกม็ กี ารบนั ทกึ
ในวัสดุอืน่ ๆ เช่น ใบลาน สมดุ ข่อย คัดลอกด้วยลายมอื เปน็ เหตุให้เผยแพร่ได้ในวงแคบ จนกระทงั่ เข้าสู่
ยคุ สมยั ของการพมิ พจ์ งึ มกี ารเผยแพรใ่ นวงกวา้ งขนึ้ อยา่ งไรกต็ าม พฒั นาการของวรรณกรรมไทยเกดิ จาก
ผลทเ่ี นอ่ื งมาจากปัจจัยต่างๆ หลายประการด้วยกัน
วรรณกรรมจะเจรญิ หรือเส่ือมขน้ึ อยกู่ บั เหตุการณ์บ้านเมือง เป็นสำ� คญั เมอ่ื ใดบ้านเมอื งสงบสุข
กม็ วี รรณกรรมเกดิ ขนึ้ หลากหลายประเภท เมอ่ื บา้ นเมอื งประสบภยั พบิ ตั ิ วรรณกรรมกส็ ญู หาย ผปู้ ระพนั ธ์
ก็ไม่สามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้ การก่อเกิดวรรณกรรมและพัฒนาการของวรรณกรรมจึงขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยต่างๆ ดังตอ่ ไปน้ี
๑. เหตุการณ์บ้านเมือง
การศึกษาวรรณกรรมไทยในสมัยต่างๆ ช้ีชัดว่าเหตุการณ์บ้านเมืองเก่ียวข้องกับวรรณกรรมเป็น
อยา่ งมากดังนี้
สมัยสุโขทัย ในระยะเร่ิมแรกต้ังราชธานี เป็นระยะท่ีต้องการให้พลเมืองอยู่ในกรอบของศีลธรรม
มคี วามประพฤตดิ ี วรรณกรรมทางศาสนา เชน่ ไตรภมู พิ ระรว่ ง จงึ เกดิ ขนึ้ และมศี ลิ าจารกึ เปน็ วรรณกรรม
ที่บันทกึ เร่ืองราวและเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ