Page 17 - ไทยศึกษา
P. 17

วรรณกรรมไทย                      ๙-7

อารมณส์ ะเทอื นใจทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ วรรณกรรมนไี้ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเปน็ อารมณเ์ ศรา้ เสมอไป อาจเปน็ ความสะเทอื นใจ
ทด่ี ม่ื ดำ่� ซาบซง้ึ ในวรี กรรมของวรี บรุ ษุ ดงั เชน่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส ทรงนพิ นธ์
ลลิ ติ ตะเลงพา่ ย เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั
ทรงพระราชนิพนธ์กลอนบทละครเร่ือง อิเหนา ข้ึนด้วยความที่ทรงตระหนักถึงความส�ำคัญของศิลปะ
การละคร อันประกอบด้วยความสัมพนั ธข์ องวรรณศิลป์ นาฏศลิ ป์ และคีตศิลป์ เมื่อเรอ่ื งอเิ หนาฉบับเดิม
สูญหายไปจึงทรงพระราชนิพนธ์ขน้ึ ใหม่ ดงั ความในเพลงยาวตอนท้ายเร่อื งอเิ หนาวา่

อันอิเหนาเอามาท�ำเป็นค�ำร้อง 		      ส�ำหรับงานการฉลองกองกุศล
ครงั้ กรุงเก่าเจา้ สตรีเธอนิพนธ์ 		  แตเ่ ร่ืองตน้ ตกหายพลดั พรายไป
หากพระองค์ทรงพภิ พปรารภเลน่ 	        ใหร้ �ำเตน้ เล่นละครคิดกลอนใหม่
เติมแตม้ ต่อติดประดิษฐไ์ ว้ 		       บ�ำรงุ ใจไพรฟ่ า้ ข้าแผ่นดนิ 2

                    ภาพที่ ๙.๒ บทละครเรือ่ งอิเหนา พระราชนพิ นธ์ในรัชกาลท่ี ๒
       ๒. 	ความนึกคิด จินตนาการ และการแสดงออก จินตนาการช่วยให้เร่ืองราววรรณกรรมมีความ
งามขึน้ กวมี วี ิธีสรา้ งจนิ ตนาการหลายอยา่ ง เช่น

            ๒.๑		สร้างตามทร่ี สู้ ึก เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นรสู้ กึ ไปตามเรอ่ื งราวทบี่ รรยาย เชน่ เรอ่ื งรามเกยี รต์ิ ตอน
นารายณป์ ราบนนทก กวบี รรยายความรสู้ กึ สะเทอื นใจของนนทก ผมู้ หี นา้ ทล่ี า้ งเทา้ เทวดาทเี่ ชงิ เขาไกรลาส
แลว้ ถกู เทวดาแกลง้ อย่เู ป็นประจ�ำ ทำ� ให้นนทกเจบ็ ช�้ำน้ำ� ใจจนกลายเป็นโกรธอาฆาตแคน้

         2 พระยาอนุมานราชธน. (๒๕๑๐). “คํานํา.” ใน สมญาภิธานรามเกียรติ์. รวบรวมโดย นาคะประทีป. กรุงเทพฯ:
คลงั วทิ ยา น. ง-จ.
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22