Page 22 - ไทยศึกษา
P. 22

๙-12 ไทยศกึ ษา
       ในสมยั กรงุ ธนบรุ แี มจ้ ะมรี ะยะเวลาสนั้ เพยี ง ๑๕ ปี ปรากฏวา่ มวี รรณกรรมเกดิ ขน้ึ หลายเรอ่ื ง ทงั้ ท่ี

พระเจ้ากรงุ ธนบรุ ีทรงพระราชนพิ นธเ์ องคอื บทละครรามเกียรติ์ รวม ๔ ตอน และกวอี ่ืนๆ อีกหลายคนได้
สรา้ งผลงานไว้ ดงั เชน่ หลวงสรวิชติ (หน) แต่งอิเหนาคำ� ฉันท์และลิลติ เพชรมงกุฎ พระยามหานุภาพแตง่
นิราศกวางตุ้ง พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงแสดงให้เห็นภาวะผู้น�ำท่ีทรงตระหนักถึงความส�ำคัญของวรรณกรรม
รวมถงึ ศิลปะการละครวา่ เป็นเครอื่ งหมายของความสุขความสงบแห่งรัฐ ดงั นั้นแม้จะตอ้ งทรงสู้ศกึ สงคราม
อยู่ตลอดเวลาก็ยังทรงอุตสาหะสร้างวรรณกรรมด้วยพระองค์เอง รวมท้ังสนับสนุนผู้รู้ท้ังหลายให้ร่วมกัน
สรา้ งสรรคว์ รรณกรรมขน้ึ ดว้ ย สมดงั ทน่ี ายสวนมหาดเลก็ มคี วามปตี ชิ น่ื ชมในพระราชกรณยี กจิ ของพระองค์
จึงได้แตง่ โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรงุ ธนบุรี ขน้ึ

       ภาวะผู้น�ำจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างหน่ึงท่ีส่งเสริมให้วรรณกรรมพัฒนาขึ้นท้ังด้านปริมาณและ
คณุ ภาพ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั การวรรณคดเี จรญิ รงุ่ เรอื งเปน็ อนั มาก มวี รรณคดี
สโมสร เกิดขึ้นส่งเสริมการศึกษาวรรณคดีรุ่นเก่า รวมทั้งส่งเสริมวรรณคดีรุ่นใหม่ มีการประเมินคุณค่า
วรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

       หลงั เปลย่ี นแปลงการปกครองในชว่ งเวลาสงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ สมยั ทจ่ี อมพล ป. พบิ ลู สงครามเปน็
นายกรฐั มนตรี มกี ารปฏริ ปู การใชอ้ กั ษรไทยและระบบการสะกดการนั ต์ โดยตดั ตวั อกั ษรทซ่ี ำ้� เสยี งกนั ออก
ไปหลายตัว เช่น ตดั ษ ศ ฑ ฒ ฯลฯ ทำ� ใหเ้ ขยี นคำ� ท่ีมาจากภาษาบาลสี ันสกฤตไม่ได้ เพราะเขียนแลว้ จะ
แปลไมไ่ ด้ เปน็ เหตใุ ห้กวบี างท่าน เชน่ กรมหมน่ื พิทยาลงกรณ (น.ม.ส.) หยุดเขียนงานวรรณกรรมไปเลย

       ตัวอย่างของภาวะผู้น�ำท่ีส่งผลจากวรรณกรรมสมัยใหม่ ก็เช่นสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็น
นายกรฐั มนตรี ปกครองประเทศดว้ ยกฎอัยการศกึ มกี ารจับกุมนกั เขยี น นกั หนงั สอื พิมพท์ ร่ี ฐั บาลเข้าใจวา่
เป็นฝ่ายตรงข้าม มีนักเขียนถูกจับขังคุกเป็นอันมาก ส่งผลกระทบให้วรรณกรรมในช่วงน้ีส่วนหนึ่งกลาย
เป็น “วรรณกรรมหลีกหน”ี หรือบางคนเรียกว่า “วรรณกรรมน�้ำเน่า” เนอ่ื งจากเหน็ วา่ เปน็ วรรณกรรมที่
ใหค้ วามบนั เทงิ แบบไรส้ าระเพราะนกั เขยี นเกรงภยั ไมป่ ระสงคจ์ ะวพิ ากษว์ จิ ารณก์ ารเมอื ง เปน็ ภาวะทต่ี า่ ง
จากปจั จบุ นั ท่นี ักเขียนมีเสรีภาพในการเขยี นอย่างเต็มท่ี

๓. 	อุปกรณ์การผลิตวรรณกรรม

       ในสมยั กอ่ นการผลติ วรรณกรรมตอ้ งเขยี นดว้ ยลายมอื จดจารลงในใบลานหรอื สมดุ ขอ่ ย วรรณกรรม
บางเรือ่ งจึงอาจมเี พียงฉบบั เดยี ว การคดั ลอกตอ่ ๆ กนั มาบางครัง้ มีการผิดพลาด ท�ำใหเ้ อกสารท่ีตกมาถึง
สมัยหลังมีข้อความหรือถ้อยค�ำต่างกัน เกิดปัญหาในการช�ำระวรรณกรรมสมัยต่อมา ประเด็นส�ำคัญคือ
วรรณกรรมทคี่ ดั ลอกดว้ ยลายมือน้ันมีตน้ ฉบับนอ้ ยไม่แพร่หลาย

       การพมิ พเ์ รมิ่ ขน้ึ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เรมิ่ ดว้ ยประกาศของทางราชการ
เป็นประกาศห้ามสูบฝิ่น เม่ือมีการพิมพ์ขึ้นวรรณกรรมจึงแพร่หลายประกอบกับคนอ่านหนังสือได้เพิ่ม
ปรมิ าณข้ึนวรรณกรรมก็มหี ลายประเภท มวี รรณกรรมประเภทสือ่ สารมวลชนเพม่ิ ขน้ึ ดังเชน่ หมอบรดั เลย์
ออกหนังสอื รายปักษช์ ่ือ บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้
เจา้ อยหู่ วั โปรดใหจ้ ดั พมิ พห์ นงั สอื ของทางราชการคอื ราชกจิ จานเุ บกษา ซง่ึ เปน็ หนงั สอื ทสี่ ำ� คญั มอี ายยุ นื ยาว
มาจนถงึ ปจั จุบัน กฎหมายต่างๆ ที่ประกาศใชจ้ ะตอ้ งลงพมิ พ์ในราชกิจจานุเบกษากอ่ น
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27