Page 16 - ไทยศึกษา
P. 16
๙-6 ไทยศึกษา
ภาพท่ี ๙.๑ วรรณกรรมประเภทตา่ ง ๆ
กอ่ นมีค�ำ วรรณกรรม มคี ำ� วา่ วรรณคดี แปลมาจากคำ� literature เช่นเดียวกนั คำ� นี้ปรากฏใช้
ครั้งแรกในพระราชกฤษฎีกาต้ังวรรณคดีสโมสร พ.ศ. ๒๔๕๗ กำ� หนดประเภทหนงั สอื ไว้ ๕ ประเภท คอื
๑) กวนี ิพนธ์ คือ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ๒) ละครไทย ได้แก่บทละครร�ำซง่ึ แตง่ เปน็ กลอน ๓) นทิ าน
คือเร่ืองราวทผ่ี กู ข้นึ แตง่ เปน็ ร้อยแก้ว ๔) ละครพดู ๕) คำ� อธิบาย (essay) เป็นความเรียงทไ่ี มใ่ ช่ตำ� รา
ในพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ ก�ำหนดว่าหนังสือท่ีวรรณคดีสโมสรยกย่องคือ หนังสือท่ีดีและแต่งดี
สรุปได้ ๒ ประการคอื
๑. หนังสือดี หมายถึง เร่ืองทีส่ าธารณชนสมควรจะอ่านได้ โดยไม่เสยี ประโยชน์
๒. หนังสือแต่งดี หมายถึง หนังสอื ที่ใชภ้ าษาไทยดี ไม่ใชภ่ าษาท่เี ลียนแบบภาษาต่างประเทศ
ค�ำว่า literature หรือวรรณกรรมมีความหมาย ๒ ประการ คือ ความหมายอย่างกว้างและ
ความหมายอย่างแคบ วรรณกรรมในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง งานเขียนท่ัวๆ ไปทุกประเภท
วรรณกรรมในความหมายอย่างแคบ หมายถึง หนงั สอื ทแี่ ตง่ ดี ไดร้ ับการยกย่องวา่ เป็น “วรรณคดี” หรือ
กลา่ วอกี นยั หนึ่งหมายถงึ งานสร้างสรรคท์ ีม่ ี “วรรณศิลป์” คอื การใช้ภาษาอยา่ งศลิ ปะในการเรยี บเรียงให้
เกิดผลทางอารมณ์ ค�ำ วรรณกรรม ท่ีใช้ในหน่วยการสอนน้ี จึงมีความหมายเช่นเดียวกับค�ำ วรรณคดี
หรอื วรรณกรรมในความหมายอยา่ งแคบ
วรรณกรรมหรอื วรรณคดจี ะตอ้ งประกอบขนึ้ ดว้ ยวรรณศลิ ป์ ซง่ึ เปน็ การเรยี บเรยี งถอ้ ยคำ� ทปี่ ระกอบดว้ ย
ความรสู้ กึ สะเทอื นใจและจินตนาการ วรรณศลิ ป์มอี งค์ประกอบ ดังนี้
๑. อารมณ์สะเทือนใจ งานศิลปะจะเกิดจากอารมณ์สะเทือนใจ เป็นบทเร่ิมแรกของการสร้าง
วรรณกรรม ผู้ประพันธ์หรือกวีอาจเกิดความเศร้าใจท่ีพลัดพรากจากคนรักท�ำให้เขียนบทร�ำพันในนิราศ