Page 12 - ไทยศึกษา
P. 12

๙-2 ไทยศกึ ษา

               แผนการสอนประจ�ำหน่วย

ชุดวิชา	 ไทยศกึ ษา
หน่วยที่ ๙ 	 วรรณกรรมไทย
ตอนท่ี

       ๙.๑ 	ข้อพนิ จิ เบอื้ งตน้ เกยี่ วกับวรรณกรรมไทย
       ๙.๒ 	วรรณกรรมแนวจรรโลงสงั คม
       ๙.๓ 	วรรณกรรมแนวจรรโลงใจ
       ๙.๔ 	วรรณกรรมปัจจุบัน

แนวคิด

       ๑.	 วรรณกรรมเป็นงานศลิ ปะที่ประมวลเร่อื งราวของชวี ติ มนุษย์โดยใชภ้ าษาเป็นส่อื สภาพสงั คม
          และเหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งสง่ ผลตอ่ พฒั นาการของวรรณกรรม ขณะเดยี วกนั วรรณกรรมกส็ ะทอ้ น
          ภาพสังคมในสมัยนั้นๆ วรรณกรรมไทยแบ่งประเภทได้ตามรูปแบบการประพันธ์และเน้ือหา
          วรรณกรรม

       ๒.	 วรรณกรรมประเภทจรรโลงสังคมประกอบด้วยวรรณกรรมทางศาสนาและค�ำสอน ซึ่งเป็น
          วรรณกรรมทีม่ งุ่ พฒั นาจติ ใจและพฤติกรรมของคนในสงั คม วรรณกรรมเกยี่ วกบั ประเพณแี ละ
          พิธีกรรม ช้ีให้เห็นความเช่ือและแนวปฏิบัติต่างๆ ส่วนวรรณกรรมเชิงประวัติได้บันทึก
          เหตกุ ารณส์ �ำคัญต่างๆ และการสดุดีวรี กรรม รวมทง้ั กรณยี กจิ ของผทู้ ที่ ำ� คณุ แก่ประเทศชาติ

       ๓.	 วรรณกรรมแนวจรรโลงใจ มุ่งใหค้ วามบนั เทงิ แก่ผู้อ่านผฟู้ งั ทัง้ นิยายรอ้ ยกรอง บทละคร และ
          นริ าศ ลว้ นเปน็ วรรณกรรมทใ่ี หค้ วามเพลดิ เพลนิ พรอ้ มดว้ ยสาระทคี่ วรพนิ จิ ทง้ั ในแงค่ วามของ
          ภาษาและแนวคิดตา่ งๆ ในวรรณกรรม

       ๔.	 ว รรณกรรมปจั จบุ นั เปน็ วรรณกรรมแนวใหมท่ เี่ กดิ ขน้ึ เมอื่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากทางตะวนั ตก ทำ� ให้
          เกดิ รปู แบบใหมข่ องวรรณกรรม วรรณกรรมขยายวงกว้างขึน้ ท้งั รปู แบบและแนวคิด รวมถงึ มี
          ผู้อา่ นวรรณกรรมมากขน้ึ วรรณกรรมไทยมลี กั ษณะเป็นสากลมากขึ้น

วัตถุประสงค์

       เมอ่ื ศึกษาหนว่ ยท่ี ๙ จบแล้ว นักศกึ ษาสามารถ
       ๑.	 อ ธิบายความหมายของวรรณกรรม ปัจจัยท่ีส่งผลต่อวรรณกรรมและประเภทของวรรณกรรม

          ได้
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17