Page 49 - ไทยศึกษา
P. 49
วรรณกรรมไทย ๙-39
๔.๓ กลอนเสภา เร่ืองท่ีรูจ้ ักกนั อย่างแพร่หลาย คอื เสภาเร่ืองขนุ ช้างขนุ แผน เปน็ เรอื่ งท่ีมผี ู้แต่ง
หลายราย เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว สุนทรภู่
ครแู จ้ง เปน็ ตน้
ที่มาของเร่ืองเชื่อกันว่ามีเค้าเรื่องจริงเป็นเรื่องที่เกิดข้ึนในสมัยอยุธยาตอนต้น เล่ากันสืบๆ มาใน
รูปของการขับเสภา ได้มาเรียบเรียงข้ึนใหม่ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ เสภาขุนช้างขุนแผนเป็นเร่ืองราวท่ีแสดง
ชวี ติ ของคนไทยสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ ทง้ั ความเปน็ อยู่ ความรสู้ กึ นกึ คดิ ความเชอ่ื ขนบธรรมเนยี มประเพณี
ตา่ งๆ ซงึ่ เปน็ ธรรมเนยี มของสามญั ชนมอี ยคู่ รบถว้ นในเรอ่ื งทง้ั ประเพณชี วี ติ และประเพณเี ทศกาล ตวั ละคร
และเหตุการณ์ต่างๆ มีลักษณะสมจริง เป็นเรื่องที่อ่านได้สนุกในเน้ือเรื่องและไพเราะด้วยท่วงทํานองของ
การขับเสภา และเป็นแหล่งความรู้เก่ยี วกบั ชีวิตคนไทยต้นรัตนโกสินทร์
๔.๔ กลอนหก วรรณกรรมนิทานท่ีแต่งด้วยกลอนหกคือ เร่ือง กนกนคร พระนิพนธ์ของ
กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ (ซึ่งทรงใช้พระนามในการประพันธ์ว่า น.ม.ส. อันเป็นอักษรย่อที่ได้จากพระนาม
เดิมว่า พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส) ทรงเริ่มประพันธ์ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๕๘ เสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ. ๒๔๖๕
ต้นเร่ืองเดิมเป็นภาษาสันสกฤต มีผู้แปลเป็นภาษาอังกฤษ น.ม.ส. ทรงดัดแปลงจากฉบับภาษาอังกฤษ
ตัวเอกของเร่ืองเป็นพญาคนธรรพ์ได้ภรรยาท่ีงามสมใจ จึงคุยอวดไปทั่ว จนเหล่าคนธรรพ์ท้าพนันว่าถ้า
นางงามจรงิ คงจะยว่ั ยวนใหพ้ ระฤๅษที เี่ ขา้ ฌานอยหู่ ลงใหลไดแ้ ตพ่ ระฤๅษไี มห่ ลงซ้�ำยงั สาปใหท้ ง้ั คมู่ าเกดิ ใน
โลกมนษุ ย์ เมอ่ื ใดฆา่ กนั เองจงึ จะใหพ้ น้ คาํ สาป เรอื่ งนจี้ งึ ใหแ้ งค่ ดิ ถงึ การลมุ่ หลงในความรกั และการโออ้ วด
ท่ีไม่เกิดประโยชน์แล้วอาจนําโทษมาสู่ตนได้ เร่ืองนี้เป็นกลอนหกท่ีทรงนิพนธ์ไว้ไพเราะมาก ทรงใช้ศัพท์
ใหมแ่ ละแปลกหลายแหง่ แตท่ รงทาํ คาํ อธบิ ายไวท้ า้ ยเรอื่ ง คาํ อธบิ ายนน้ั เปน็ ประโยชนแ์ กก่ ารศกึ ษาวรรณคดี
เรอ่ื งอืน่ ๆ ด้วย ไมเ่ ฉพาะแตเ่ รือ่ งนี้
กิจกรรม ๙.๓.๑
๑. วรรณกรรมนทิ านรอ้ ยกรองแบง่ ตามประเภทรอ้ ยกรองไดก้ ป่ี ระเภทและใหย้ กตวั อยา่ ง ประกอบ
แตล่ ะประเภทดว้ ย
๒. บรรยายเก่ียวกับวรรณกรรมนิทานร้อยกรองโดยสงั เขป
แนวตอบกิจกรรม ๙.๓.๑
๑. วรรณกรรมนิทานร้อยกรองแบง่ ตามประเภทรอ้ ยกรองไดด้ ังน้ี
๑) ประเภทกาพย์ เชน่ กาพย์พระไชยสรุ ิยา
๒) ประเภทกลอน แยกยอ่ ยเปน็ กลอนนทิ าน หรอื กลอนตลาด เชน่ พระอภยั มณี กลอนเสภา
เช่น ขนุ ช้างขุนแผน กลอนหก เช่น กนกนคร
๓) ประเภทฉนั ท์ เชน่ สมุทรโฆษคำ� ฉันท์ สรรพสทิ ธิคำ� ฉนั ท์
๔) ประเภทลิลิต คือ ใช้คำ� ประพนั ธป์ ระเภทโคลงสอง โคลงสาม โคลงส่ี และร่าย เช่น ลิลติ
พระลอ ลลิ ิตเพชรมงกุฎ