Page 54 - ไทยศึกษา
P. 54
๙-44 ไทยศกึ ษา
เดินทางไปแหง่ ใดเลย เชน่ นริ าศเดอื น ของนายมี นิราศอิเหนา ของสนุ ทรภู่ เปน็ ต้น แม้ในการราํ พนั ถึง
นางอันเป็นทร่ี กั บางครงั้ กวีก็รําพันไปตามขนบของนริ าศดังเช่น กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก ของเจา้ ฟ้า
ธรรมาธิเบศร บอกไวท้ า้ ยเรือ่ งวา่
จบเสร็จคร�่ำครวญกาพย์ บทพิลาปถึงสาวศรี
แตง่ ตามประเวณี ใชเ่ มยี รักจะจากจรงิ
นริ าศบางเรอ่ื งกวมี าแตง่ หลงั จากเดนิ ทางกลบั มาแลว้ กม็ ี ดงั เชน่ นริ าศลอนดอน ของหมอ่ มราโชทยั
ทแ่ี ตง่ นริ าศข้นึ โดยอาศัยขอ้ มูลจากจดหมายเหตทุ ีบ่ ันทึกการเดินทางและประสบการณ์ตา่ ง ๆ
๑. ประเภทของนิราศ
เราอาจแบง่ ประเภทของนิราศไดต้ ามเนือ้ หาของนิราศ ดังนี้
๑.๑ นิราศประเภทท่ีมีการเดินทางจริง เชน่ โคลงนริ าศถลาง ของพระยาตรงั แต่งเม่อื ตามเสด็จ
ไปรบพม่า พ.ศ. ๒๓๕๒ นริ าศสุพรรณ ของสนุ ทรภู่ นริ าศหริภญุ ไชย นิราศกรงุ เกา่ ของมหาฤกษ์แต่งเมื่อ
ไปอยธุ ยา เปน็ ต้น
๑.๒ นิราศที่ไม่มีการเดินทาง แต่ใช้เวลาเป็นเคร่ืองกําหนดในการพรรณนาความอาลัยรัก เช่น
ทวาทศมาส นริ าศเดอื น นริ าศทงั้ ๒ เรอ่ื งน้ี ผปู้ ระพนั ธจ์ ะราํ พนั ไปทลี ะเดอื นและกลา่ วถงึ พธิ ตี า่ งๆ ในแตล่ ะ
เดอื นรว่ มไปด้วย
๑.๓ นิราศสมมุติ เช่น นริ าศอิเหนา ของสนุ ทรภู่ ทีน่ ําเรือ่ งอเิ หนาตอนทพี่ ลดั พรากกบั บษุ บามา
ร�ำพัน แบบนิราศ โดยบอกไว้ชัดแจ้งในตอนต้นเรื่องว่า “นิราศร้างห่างเหเสน่หา ปางอิเหนาเศร้าสุดถึง
บษุ บา พระพายพาพดั น้องให้ลอ่ งลอย”
การประพนั ธน์ ริ าศกวนี ยิ มใชบ้ ทรอ้ ยกรองเพราะมลี ลี าจงั หวะหลายแบบ เมอื่ ผสมผสานกบั การคดั สรร
คาํ ทเ่ี หมาะสมแลว้ กท็ าํ ใหบ้ ทประพนั ธน์ มุ่ นวลออ่ นหวาน เศรา้ โศก กรา้ วแกรง่ หรอื กระชนั้ กระชากอารมณ์
ความร้สู ึกไดอ้ ย่างท่ีกวีประสงคจ์ ะถา่ ยทอด วรรณกรรมประเภทนิราศจึงมคี าํ ประพนั ธ์หลายประเภท เช่น
โคลงด้ัน มีกําสรวลโคลงด้ัน ทวาทศมาส นิราศตามเสด็จลํานําน้�ำน้อย ของพระยาตรัง กาพย์ห่อโคลง
ได้แก่ กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร (กุ้ง) โคลงสี่สุภาพมีหลายเรื่อง เช่น นิราศ
นรินทร์ ของนายนรินทร์ นิราศสุพรรณ ของสุนทรภู่ นิราศที่แต่งด้วยคําประพันธ์ประเภทกลอนมีเป็นจํา
นวนมาก เช่น นิราศรบพมา่ ท่ที ่าดินแดง ในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช นิราศของ
สุนทรภูจ่ ํานวน ๗ เรอ่ื งคือ นริ าศเมืองแกลง นริ าศพระบาท นิราศภูเขาทอง นริ าศวัดเจ้าฟา้ นริ าศอเิ หนา
นริ าศพระประธม นริ าศเมอื งเพชรบรุ ี ของนายมี ไดแ้ ก่ นริ าศเดอื น นริ าศสพุ รรณ และนริ าศพระแทน่ ดงรงั
มนี ริ าศรอ้ ยแกว้ เพยี งเรอ่ื งเดยี วคอื นริ าศนครวดั ของ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ
ทรงปรารภเรื่องด้วยคํากลอนตามธรรมเนียมนิราศ ประมาณหนึ่งหน้า จากนั้นทรงนิพนธ์ด้วยภาษา
รอ้ ยแกว้ ธรรมดา เนือ้ หาของเรอ่ื งเป็นประเภทสารคดที อ่ งเทย่ี ว