Page 57 - ไทยศึกษา
P. 57
วรรณกรรมไทย ๙-47
๓.๖ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา นกั ศกึ ษาทสี่ นใจภาษาถน่ิ และภาษาอน่ื ทปี่ ะปนอยใู่ น
นิราศ อาจเลอื กประเด็นน้สี นใจศึกษาอย่างละเอยี ดได้
ตามทีก่ ลา่ วมาน้เี ป็นเพยี งแนวการศึกษาท่วั ๆ ไปเกีย่ วแก่วรรณกรรมนริ าศซง่ึ ไดม้ ีผูศ้ กึ ษาไว้แลว้
แตย่ งั มแี งม่ มุ ตา่ งๆ ในนริ าศอกี หลายประการทผี่ สู้ นใจจะศกึ ษาไดอ้ กี นริ าศจงึ เปน็ วรรณกรรมทใ่ี หท้ งั้ ความ
บันเทิงและเปน็ แหล่งสําคญั ของสาระความรู้
กิจกรรม ๙.๓.๓
๑. จงบรรยายลกั ษณะของวรรณกรรมประเภทนิราศโดยสงั เขป
๒. สรุปประโยชน์ในการศกึ ษาวรรณกรรมประเภทนิราศเป็นข้อ ๆ
แนวตอบกิจกรรม ๙.๓.๓
๑. วรรณกรรมประเภทนริ าศ เป็นวรรณกรรมท่มี ุ่งแสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ของผูป้ ระพันธท์ ่ีตอ้ ง
จากถ่ินท่ีอยู่ จากผู้เปน็ ทร่ี กั ไป มีลักษณะเฉพาะดังนี้
๑) มบี ทพรรณนาครำ่� ครวญอาลยั รกั มกี ารเดนิ ทางเมอื่ พบเหน็ สง่ิ ใดกโ็ ยงไปนกึ ถงึ ผทู้ ต่ี นเอง
จากมาบทพรรณนาเหล่านมี้ ีความไพเราะ ใชภ้ าพพจน์ต่างๆ เรยี กวา่ ส�ำนวนนิราศ
๒) กวจี ะเดนิ ทางไปทใ่ี ดทหี่ นง่ึ และเรยี กชอื่ นริ าศตามจดุ หมายปลายทาง เชน่ ไปสพุ รรณบรุ ี
เรยี ก นริ าศสพุ รรณ
๓) วรรณกรรมประเภทนิราศมีทั้งท่ีผู้ประพันธ์เดินทางไปแล้ว และบางเรื่องสมมติข้ึนโดย
แตง่ ดว้ ยสำ� นวนนิราศแต่ไมม่ ีการเดนิ ทาง
๔) วรรณกรรมนิราศได้พัฒนาข้ึนโดยกวีบันทึกประสบการณ์แปลกใหม่มากขึ้น ลดการ
พรรณนาครำ่� ครวญลง
๒. ประโยชนท์ ่ไี ดจ้ ากการศึกษาวรรณกรรมประเภทนิราศ ประโยชนน์ อี้ าศยั จากภาพที่กวบี ันทึก
ประสบการณไ์ ว้ สว่ นใหญเ่ ปน็ ประสบการณต์ รงทำ� ใหผ้ อู้ า่ นไดค้ วามรนู้ านปั การ ดงั นนั้ ผอู้ า่ นจะไดป้ ระโยชน์
ในการศกึ ษาระบบสงั คม ความเปน็ อยู่ ชวี ติ เศรษฐกจิ ไทย ชนกลมุ่ นอ้ ยทอี่ าศยั อยทู่ วั่ ไป รวมถงึ เรอ่ื งภาษา
เรอื่ งสถานท่ีตา่ งๆ ทกี่ วบี ันทึกไว้