Page 36 - การอ่านภาษาไทย
P. 36
๖-26 การอา่ นภาษาไทย
ตัวอย่าง
๑ ๒ ๓ ๔่ ๕้ ๑ ๒่ ๓ ๔ ๕้
๑่ ๒้ ๓ ๔ ๑ ๒
รอยรปู อนิ ทร์หยาดฟา้ มาอา่ องคใ์ นหลา้
แหลง่ ให้คนชม แลฤๅ
(ลลิ ติ พระลอ)
๔. โคลงดั้น
๔.๑ โคลงสด่ี นั้ เปน็ โคลงสรี่ ปู แบบลอ้ เลยี นโคลงสส่ี ภุ าพ แตกตา่ งกนั ทว่ี รรคทา้ ยมเี พยี ง ๒ คำ� และ
ตำ� แหน่งที่ส่งรบั สัมผสั แตกต่างกันไปตามรูปแบบท่มี ชี ื่อเรียกต่างๆ กนั เช่น โคลงส่ดี ้นั ววิ ธิ มาลี โคลงสี่ด้ัน
มหาววิ ธิ มาลี โคลงสด่ี ้นั บาทกญุ ชร โคลงส่ดี ้ันจตั วาทณั ฑี โคลงสีด่ น้ั ตรพี ิธพรรณ เปน็ ต้น นกั ศึกษาอาจ
ศกึ ษารายละเอยี ดของโคลงสดี่ นั้ ได้จากเร่อื งฉนั ทลักษณ์ ของพระยาอุปกิตศิลปสาร (น่มิ กาญจนาชวี ะ)
๔.๒ โคลงสามและโคลงสองด้ัน
คณะ คำ� เอกคำ� โท สมั ผสั เหมอื นโคลงสาม โคลงสองสภุ าพ ตา่ งกนั ทว่ี รรคทา้ ยของโคลงสามและ
โคลงสองด้ัน มีเพียง ๒ ค�ำ และบาทสุดท้าย ค�ำท่ี ๔ ที่ ๕ เป็นคำ� โทคู่
ตัวอย่าง โคลงสามด้ัน
ใครยอมเร่ิมกิจใด แม้สงสยั อยแู่ ท้
ถึงยามทีส่ ดุ แล ้ แน่ใจ
ตัวอย่าง โคลงสองด้ัน
(รชั กาลท่ี ๖. โคลงสภุ าษิต)
เรมิ่ ด้วยแน่จิตแท ้ ถึงยามท่ีสุดแล้
สงสยั
(รชั กาลท่ี ๖. โคลงสุภาษติ )