Page 31 - การอ่านภาษาไทย
P. 31
การอ่านร้อยกรอง ๖-21
ตัวอย่าง การใช้ค�ำตายแทนเสียงเอกในโคลงสี่สุภาพ
บังคมแทบบาทดว้ ย ภักดี
พระเปรียบดวงมณ ี สวา่ งแพร้ว
บุญเบิกพระบารม ี เจดิ แจ่ม
ดุจพระมารดาแกว้ ก่อเก้ือไผทสยาม
๔. เสียงวรรณยุกต์
เสยี งวรรณยกุ ต์ หมายถงึ เสยี งสงู ตา่ํ ๕ เสยี ง คอื สามญั เอก โท ตรี จตั วา ซงึ่ อาจใชร้ ปู วรรณยกุ ต์
ก�ำกับบนพยัญชนะหรือสระ แต่อาจไม่เกิดเป็นเสียงวรรณยุกต์ตามรูปวรรณยุกต์ก็ได้ เช่น เช้ิต ใช้
รูปวรรณยุกตโ์ ท แต่เปน็ ค�ำเสียงตรี แจ่ม ใชร้ ูปวรรณยุกต์เอก เป็นเสยี งเอก
๕. ครุ ลหุ
ครุ คอื พยางค์หรอื ค�ำท่ีผสมสระเสยี งยาว และมีเสยี งหนกั เช่น แก ตอ ฟู ปา ค�ำท่ีมตี วั สะกด
เช่น ปาด จาก หนนุ รวมทง้ั ทผ่ี สมสระ อ�ำ ไอ ใอ เอา เชน่ นำ� ไก ใด เมา
ลหุ คอื พยางค์หรือค�ำท่ีผสมสระเสยี งส้ัน ไมม่ ีตวั สะกด มเี สียงเบา เช่น ตะละ ปะทะ ทะนุ มุทะลุ
ในบางกรณที ไี่ มเ่ ครง่ ครดั กวอี าจใชค้ ำ� ตาย หรอื สระเสยี งสนั้ มตี วั สะกดในแมก่ ก กด กบ เชน่ ดจุ (อา่ นวา่
ด-ุ จะ) หรอื ใช้ค�ำ ก็ บ่ แทนลหุ แต่ไม่เป็นทน่ี ยิ ม
ค�ำครุลหุ น้ีเป็นคำ� ทบี่ ังคบั ในการร้อยกรอง ประเภทฉนั ท์
๖. ค�ำเอก ค�ำโท
ค�ำเอก ค�ำโท คือ ค�ำหรือพยางค์ท่ีบังคับวรรณยุกต์เอก หรือวรรณยุกต์โท โดยท่ีอาจไม่ใช่เสียง
เอก หรอื โท สว่ นมากใชใ้ นการประพันธ์ร้อยกรอง ประเภทโคลง ซงึ่ เป็นบังคบั สำ� คัญในตำ� แหน่งท่กี ำ� หนด
และในกลอน ตามต�ำแหนง่ สง่ รบั สมั ผัส
ค�ำเอก ได้แก่ ค�ำหรือพยางค์ท่ีก�ำกับด้วยรูปวรรณยุกต์เอก เช่น ข่า แด่ คั่ว ช่วย เช่า ในการ
แตง่ โคลง ถ้าหาค�ำท่กี ำ� กบั ด้วยรูปวรรณยุกตเ์ อกไมไ่ ด้ อาจใชค้ �ำตายทไี่ ม่มวี รรณยกุ ต์แทน เชน่ เกิด ขาด
เปรียบ
ค�ำโท ได้แก่ ค�ำหรือพยางคท์ ี่กำ� กับด้วยรปู วรรณยุกต์โท เชน่ กล้า ปอ้ ง แล้ว
๗. ค�ำขึ้นต้นและค�ำลงท้าย
ข้อบงั คบั ของร้อยกรองบางรปู แบบ จะกำ� หนดให้มคี ำ� ขน้ึ ตน้ และลงท้ายไว้ด้วย เช่น
บทละคร ขึน้ ตน้ วา่ เมอื่ นนั้ บัดน้ัน มาจะกลา่ วบทไป
บทดอกสร้อย ข้ึนต้นโดยมีค�ำว่า เอ๋ย คั่นกลาง และลงท้ายด้วยค�ำว่า เอย เช่น แมวเอ๋ย
แมวเหมยี ว วนั เอย๋ วนั ดี มดเอย๋ มดแดง