Page 29 - การอ่านภาษาไทย
P. 29

การอา่ นรอ้ ยกรอง ๖-19

       ๒.๒ 	ลักษณะการใช้สัมผัส ในการอ่านบทร้อยกรอง หากผู้อ่านเข้าใจลักษณะการใช้สัมผัส จะ
ท�ำให้ได้รับรสการอ่านลึกซึ้งขึ้น และมีความประทับใจในอัจฉริยภาพของกวี ท่ีสามารถเลือกสรรค�ำและ
ร้อยเรยี ง กอ่ ให้เกดิ เสยี งอันไพเราะ แม้วา่ จะต้องปฏบิ ัติตามข้อบังคบั อยา่ งเครง่ ครดั

            ๒.๒.๑ สัมผัสใน ได้แก่ การจัดสัมผสั ในวรรคเดียวกนั ทำ� ได้หลายแบบ
                ๑) สมั ผัสชดิ หรือสัมผสั คู่ หมายถึง การจดั ให้มสี มั ผสั อักษรหรอื สัมผัสสระชดิ กัน มี

ท้ังทส่ี มั ผัสชิดเป็นค่หู น่งึ สมั ผสั ชิดเปน็ ๒ คู่ สัมผัสชดิ ๓ คำ�

ตัวอย่าง สัมผัสชิดคู่หน่ึง

                           ตน้ นา้ํ ลำ� ธารวบิ ัต	ิ  พระเร่งรัดขจดั ภัย

                           สัมผัสสระชิดคู่หนึ่ง	 น้ํา-ล�ำ
                           สัมผัสอักษรชิดคู่หนึ่ง	 เร่ง-รัด

หมายเหตุ: เครือ่ งหมาย แสดงสัมผัส

ตัวอย่าง  สัมผัสชิด ๒ คู่

	 สดบั ค�ำฉํ่าช่นื จะย่ืนแก้ว	 แล้วคลาดแคล้วคลับคล้ายเคลิม้ หายเสยี ง

            	 สัมผัสอักษรชิด ๒ คู่  คลาด-แคล้ว, คลับ-คล้าย
ตัวอย่าง  สัมผัสชิด ๓ ค�ำ

            	 ห้อมลอ้ มน้อมนอบมอบฤทยั 	 ภกั ดมี ใี นพระกรณุ า
            	 สัมผัสชิด ๓ ค�ำ ห้อม-ล้อม-น้อม

                ๒) สมั ผัสคัน่ หมายถงึ การจัดสมั ผัสอักษรหรอื สระโดยมคี �ำอนื่ มาค่ันกลาง
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34