Page 30 - การอ่านภาษาไทย
P. 30

๖-20 การอา่ นภาษาไทย

ตัวอย่าง สัมผัสค่ัน
            เปรยี บปานพระประทานประทปี แกว้ 	 เพริศแพรว้ เสถียรธรรมน�ำวิถี
            สัมผัสอักษรคั่น	 ทาน-ทีป มีค�ำ	 ประ มาคั่น
            สัมผัสสระค่ัน	 ปาน-ทาน มีค�ำ	 พระ ประ มาค่ัน
            ๒.๒.๒ สัมผัสนอก หมายถงึ การจดั คำ� ใหค้ ลอ้ งจองสมั ผสั กนั ตา่ งวรรค ในตำ� แหนง่ ทแ่ี ตล่ ะ

รูปแบบก�ำหนดบงั คบั ไว้ โดยทว่ั ไปจะเปน็ สมั ผสั สระ และสมั ผัสระหวา่ งบท คอื ค�ำท้ายของบาทตน้ สมั ผัส
กบั ค�ำทา้ ยของบาทแรกในบทต่อไปซ่ึงเป็นสมั ผสั บงั คับจะขาดมิได้
ตัวอย่าง  สัมผัสนอก

	 พอฟา้ คลํา้ คา่ํ พลบเสยี งกบเขยี ด	 	 รอ้ งกรีดเกรียดเกรยี วแซด่ งั แตรสงั ข์

เหมือนเสียงฆ้องกลองโหมประโคมวงั 	 	 ไม่เหน็ ฝง่ั ฟ่นั เฟอื นดว้ ยเดอื นแรม

ล�ำพรู ายชายตลงิ่ ล้วนหงิ่ หอ้ ย	  	 สวา่ งพร้อยแพรง่ พรายขึ้นปลายแขม

อร่ามเรืองเหลอื งงามวามวามแวม		 กระจ่างแจม่ จบั น้าํ เห็นล�ำเรอื

สัมผัสนอกระหว่างวรรค 	 เขยี ด-เกรยี ด, สงั ข-์ วงั , วงั -ฝง่ั , หอ้ ย-พรอ้ ย, แขม-แวม, แวม-แจม่
สัมผัสนอกระหว่างบท 	 แรม–แขม

๓. ค�ำเป็นค�ำตาย

       ร้อยกรองบางรูปแบบก�ำหนดให้ใช้ค�ำเป็นค�ำตาย คือใช้ค�ำตาย แทนค�ำในเสียงหรือรูปวรรณยุกต์
เอกได้

       ค�ำเป็น ได้แก่ พยางค์เสียงท่ีประสมดว้ ยสระเสียงยาวในแม่ ก กา เช่น ขา หนู เป้ และพยางค์
เสียงตัวสะกดในแม่ กง กน กม เกย เกอว ท้ังหมด เช่น ธง เข็ญ กลม รวย ขาว กับพยางค์เสียงที่
ผสมสระ อำ� ใอ ไอ เอา เช่น นำ� ใด ไหม เสา

       ค�ำตาย ไดแ้ ก่ พยางคเ์ สียงท่ีประสมดว้ ยสระเสียงสนั้ ในแม่ ก กา เชน่ พระ จะ มิ เกาะ ตุ เป็นต้น
และพยางคเ์ สียงตวั สะกดในแม่ กก กด กบ ท้งั หมด เช่น โศก บาท เปรยี บ ดุจ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35