Page 28 - การอ่านภาษาไทย
P. 28
๖-18 การอ่านภาษาไทย
ตัวอย่าง กลอน ๑ บท ไพร่ฟ้าอยู่หนไหนพระใฝ่หา
ในพงป่าห่างไกลพระไปเยือน
(บาทท่ี ๑) ถึงตรากตร�ำล�ำบากพระหากสู้
(บาทที่ ๒) พระไม่ห่วงวังเวียงเคียงประชา
๑.๕ ค�ำ (หรือค�ำกลอน) ในการแต่งร้อยกรองบทละคร กวอี าจใชค้ ำ� วา่ คำ� หรือ คำ� กลอน กำ� กับ
ไว้ท้ายบท เชน่ ๒ ค�ำ ๔ ค�ำ ค�ำ ในทน่ี ้หี มายถงึ ร้อยกรอง ๑ บาท คอื ๒ วรรค เรียกวา่ ๑ ค�ำ ๔ วรรค
เป็น ๒ ค�ำ ๘ วรรค เปน็ ๔ ค�ำ กำ� กับไวเ้ พื่อการขบั รอ้ งประกอบการรำ�
ตัวอย่าง ครั้นถึงใหห้ ยุดจตุรงค์ ตงั้ ลงโดยกระบวนพยหุ ์ใหญ่
ตามครุฑนามเกรียงไกร มัน่ ไว้คอยทัพวานร
ฯ ๒ ค�ำ ฯ
๒. สัมผัส
สัมผัส คือ การจัดค�ำให้คล้องจองกัน เป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้ร้อยกรองมีลักษณะเฉพาะมีลีลา
ทว่ งท�ำนอง และมีความไพเราะ
๒.๑ ชนิดของสัมผัส
๒.๑.๑ สัมผัสสระ ไดแ้ ก่ คำ� คลอ้ งจองกนั ตามเสยี งสระแตต่ า่ งอกั ษรกนั เชน่ โชคชยั -ใจเย็น
บุญคุณ-หนุนน�ำ
๒.๑.๒ สัมผัสอักษร ได้แก่ จัดคำ� ท่ใี ชพ้ ยัญชนะเสยี งเดียวกัน จะประสมสระใดหรือมีเสยี ง
วรรณยกุ ตเ์ สยี งใดกไ็ ดใ้ หค้ ลอ้ งจองกนั การใชส้ มั ผสั อกั ษรนใี้ นระหวา่ งวรรค ทำ� ใหร้ อ้ ยกรองมคี วามไพเราะ
งดงาม
ตัวอย่าง สัมผัสสระ และสัมผัสอักษร
ทวยราษฎรท์ งั้ ชาติช่นื ชม นอ้ มถวายบงั คม
เชญิ ชเยศอยเู่ กศนิรันดร
สัมผัสสระ ราษฎร์-ชาติ, เยศ-เกศ
สัมผัสอักษร ชาติ-ชื่น-ชม