Page 34 - การอ่านภาษาไทย
P. 34

๖-24 การอ่านภาษาไทย

เรื่องที่ ๖.๒.๑
โคลง

       โคลง มขี ้อบังคับหลายประการ ท้งั บงั คับคณะ รปู วรรณยุกต์เอก โท สัมผสั เป็นบทร้อยกรองที่มี
ศิลปะแสดงความสง่างาม ร้อยกรองชนิดนี้ได้รับความนิยมมานับแต่สมัยอยุธยา ซ่ึงมีวรรณคดีท่ีแต่งด้วย
โคลงเปน็ จำ� นวนมาก เชน่ โคลงยวนพา่ ย

       รอ้ ยกรองประเภทโคลง แบง่ เปน็ ประเภทใหญๆ่ ไดแ้ ก่ โคลงสภุ าพ โคลงดนั้ โคลงโบราณ โคลงกลบท
ซงึ่ แตล่ ะชนดิ ยังจ�ำแนกย่อยออกไปได้อกี ตามลักษณะข้อบังคบั เช่น

       แยกตามข้อบังคับคณะ โดยนับ บาท เปน็ หลกั ไดแ้ ก่ โคลงสี่ โคลงสาม โคลงสอง
       แยกตามข้อบังคับสัมผัส มีชือ่ เรียกตามแบบ เชน่ โคลงจัตวาทัณฑี โคลงตรีพิธพรรณ
       ในทนี่ ี้ จะกล่าวถงึ เฉพาะ โคลงสี่สุภาพ โคลงด้ัน และโคลงกระทู้

๑. โคลงสี่สุภาพ

       โคลงส่สี ภุ าพ มีรปู แบบข้อบังคบั ดงั น้ี
       ก.	 คณะ บทหนึ่ง มี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๒ วรรค วรรคแรกมี ๕ ค�ำ วรรคที่ ๒ ของ ๓
บาทแรก มีวรรคละ ๒ คำ� วรรคที่ ๒ ของบาทที่ ๔ มี ๔ ค�ำ รวม ๓๐ ค�ำ เตมิ สรอ้ ยได้ ๒ แห่ง คอื ทท่ี า้ ย
บาทที่ ๑ และบาทท่ี ๓ แหง่ ละ ๒ คำ� รวมเปน็ ๓๔ คำ�
       ข.	 ค�ำเอก ค�ำโท ในโคลง มบี งั คบั คำ� เอก ๗ คำ� คำ� โท ๔ คำ� ตามตำ� แหนง่ ในแผนผงั ตวั อยา่ ง อนง่ึ
ในท่ีท่ีบังคับให้ใช้ค�ำเอกอาจไม่ใช้ค�ำท่ีก�ำกับด้วยวรรณยุกต์เอกก็ได้ โดยใช้ ค�ำตาย หรือค�ำเสียงสั้นแทน
และนิยมใช้คำ� เสียงจัตวา หรือค�ำเสียงสามัญทีค่ ำ� สุดทา้ ยของบท
       ค.	 สัมผัส บงั คบั สมั ผสั นอก รับและสง่ ตามแผนผัง และห้ามใชค้ �ำซํ้าในการสง่ สัมผัส ในปจั จบุ ัน
นิยมสง่ สมั ผสั ระหว่างบทด้วย โดยใหค้ ำ� สดุ ท้ายของบทแรก สง่ สมั ผัสไปรับกบั คำ� ที่ ๑ หรอื ๒ หรอื ๓ ของ
บทตอ่ ไป เรยี กว่า ร้อยโคลง ซงึ่ กวใี นอดตี ไมเ่ คร่งครัด
ตัวอย่าง  โคลงสี่สุภาพ คณะ สมั ผสั คำ� เอกคำ� โท สร้อย ครบตามข้อบงั คับ (ถอื วา่ เป็นโคลงคร)ู

	 	 เสยี งลือเสียงเล่าอ้าง	 อนั ใด พี่เอย
	 เสียงย่อมยอยศใคร	    ท่ัวหล้า

	 สองเขอื พี่หลับใหล	  ลืมตื่น ฤาพ่ี
	 สองพ่ีคิดเองอ้า	     อย่าได้ถามเผือ

                                           (ลิลิตพระลอ)
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39