Page 94 - การอ่านภาษาไทย
P. 94

๖-84 การอ่านภาษาไทย

       ๒.๔ 	การอ่านท�ำนองฉันท์ รปู แบบฉนั ทบ์ งั คบั ครุ ลหุ แตค่ ำ� ไทยแทใ้ นภาษาไทยเปน็ คำ� โดด กวี
จึงมักใช้ค�ำทีม่ ีรากศพั ท์จากบาลีสนั สกฤต และมักแตง่ ฉันท์รว่ มกับกาพย์

       ในทน่ี ้จี ะแสดงการอา่ นเฉพาะ สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙
       ชอ่ื ฉนั ท์ สัททุลวิกกีฬิต แปลวา่ ประดจุ เสอื เผน่ ผยอง คณะและสมั ผสั มลี ลี าสงา่ งาม หรอื เครง่ ขรมึ
ข้ึนต้นบาทด้วยเสียงหนัก แลว้ ผ่อนเป็นเสียงเบาหรอื สัน้ สลบั กนั ท้ายวรรคมีลหุส่ง ๓ พยางค์ ทำ� ใหม้ ลี ลี า
สะบัด แล้วทอดเสียงยาวหรือหนักด้วยค�ำครุ ฉันท์รูปแบบนี้เหมาะส�ำหรับร้อยกรองเนื้อความที่เกี่ยวกับ
การสดุดี อ�ำนาจ ความงามสงา่ โอฬาร ความศกั ด์สิ ทิ ธิ์ เช่น บทถวายอาศิรวาท

            ก. ช่วงเสียงของสัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙
                วรรคที่ ๑ มี ๑๒ ค�ำ แบง่ เปน็ ๔ ช่วง คอื สาม/สาม/สอง/ส่/ี หรอื สอง/สาม/สอง/สี่

หรอื แบ่งตามกล่มุ คำ�
                วรรคที่ ๒ มี ๕ ค�ำ แบ่งเปน็ ๒ ช่วงคือ สอง/สาม
                วรรคท่ี ๓ มี ๒ ค�ำ แบง่ เปน็ ๑ ชว่ ง คือ สอง

            ข. การเอ้ือนเสียงทอดเสียง ทอดเสียงรับสัมผัสให้ถูกต้องตามต�ำแหน่ง นิยมเอ้ือนท�ำนอง
ระหว่างค�ำท่ี ๘ ท่ี ๙ ของวรรคท่ี ๑ และค�ำสุดท้ายของวรรคท่ี ๒ หรือพจิ ารณาตามความเหมาะสม

ตัวอย่าง สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙

    	 ขา้ ขอให/้ สรุ เท/วะฤท/ธิ อะ นุ กูล
    ฟงั ข้า/พเจ้าทลู 			 เถอะไท้

                                                                         (มัทนะพาธา)

    ค. อ่านออกเสียง ดงั น้ี

		  ข้า	 ขอ 	 ให/้ 	 สุ 	 ระ	 เท/	 วะ	                    ฤท/	 ธิ	 อะ	 นุ	 กูล
		   ๑	 ๒	 ๓	 ๔	 ๕	 ๖	 ๗	                                  ๘	 ๙	 ๑๐	 ๑๑	 ๑๒
		  (โท)	 (จตั วา)	 (โท)	 (เอก)	 (ตร)ี 	(สามญั )	 (ตรี)	  (ตร)ี 	 (ตรี)	 (เอก)	 (ตร)ี 	(สามญั )

	 ฟัง	 ข้า/	 พ	 เจา้ 	 ทลู 					                          เถอะ 	 ไท้
	 ๑	 ๒	 ๓	 ๔	 ๕					                                       ๑	 ๒
	 (สามญั )	 (โท)	 (ตร)ี 	 (โท)	(สามญั )					              (เอก) 	 (ตร)ี
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99