Page 95 - การอ่านภาษาไทย
P. 95

การอา่ นรอ้ ยกรอง ๖-85

       ๒.๕ การอ่านท�ำนองกลอน กลอนมีหลายชนิด คือ กลอนแปด กลอนเจ็ด กลอนหก และมีทั้ง
กลอนสภุ าพ และกลอนกลบท

            ก. ช่วงเสียงของกลอน
                กลอนแปด วรรคหนึง่ มี ๘ คำ� แบง่ ช่วงเสยี งเป็น ๓ ช่วง สาม/สอง/สาม
                กลอนเจ็ด วรรคหน่ึงมี ๗ คำ� แบ่งชว่ งเสยี งเปน็ ๓ ช่วง สาม/สอง/สอง หรือ สอง/

สาม/สาม แล้วแต่กลมุ่ ค�ำ
                กลอนหก วรรคหนงึ่ มี ๖ คำ� แบ่งชว่ งเสียงเปน็ ๓ ช่วง เป็น สอง/สอง/สอง
                บางกรณี กวีอาจใช้กลอนแปด กลอนเจด็ แตง่ ปนกนั

            ข. การเอื้อนเสียงทอดเสียง การอ่านกลอนไม่ใคร่มีการเอ้ือนเสียง นิยมทอดเสียงระหว่าง
วรรคไปยงั คำ� รบั สมั ผสั ซงึ่ เปน็ ตำ� แหนง่ ทแี่ บง่ ชว่ งเสยี งดว้ ย ตอ้ งพจิ ารณาลลี าและเนอื้ ความของบทรอ้ ยกรอง
ประกอบด้วย และออกเสียงตามเสียงวรรณยุกต์ของค�ำและทอดเสียงส้ันยาว หนักเบา ให้สอดคล้องกับ
ลกั ษณะของค�ำ และอารมณข์ องบทร้อยกรอง

            ในทน่ี ้ีจะแสดงตัวอย่างเฉพาะ กลอนแปด

ตัวอย่าง กลอนแปด
            	 ถึงเขาขวาง/ว่างเว้ิง/ชะวากวงุ้ 		 เขาเรยี กทุง่ /สงขลา/พนาสณั ฑ์
            เป็นปา่ รอบ/ขอบเขิน/เนินอรญั 		 นกเขาขัน/คูเรยี ก/เพรยี กพงไพร

                                                                                    (สนุ ทรภ่.ู นิราศเมืองแกลง)

ค. อ่านออกเสียง ดังนี้

	 ถึง	 เขา	 ขวาง/	 ว่าง	 เว้ิง	 /ชะ	 วาก	 วุง้ 	           เขา	 เรียก	 ทุง่ /	 สง	 ขลา/	 พ	 นา	 สัณฑ์
	 ๑	 ๒	 ๓	 ๔	 ๕	 ๖	 ๗	 ๘	                                   ๑	 ๒	 ๓ 	 ๔ 	 ๕ 	 ๖	 ๗ 	 ๘
	(จัตวา)	(จัตวา)	 (จัตวา) (โท) (ตรี)	(ตร)ี (โท)	 (ตร)ี 	  (จตั วา)	 (โท)	 (โท)	 (จัตวา)	 (จตั วา)	 (ตรี) 	(สามัญ)	(จัตวา)

	 เป็น	 ป่า	 รอบ/	 ขอบ	 เขนิ /	 เนนิ 	 อ	 รญั 	           นก	 เขา	 ขัน/	 ค	ู เรียก/	 กนั 	 เพรียก	 ไพร
	 ๑	 ๒	 ๓	 ๔	 ๕	 ๖	 ๗	 ๘	                                 ๑	 ๒	 ๓	 ๔	 ๕	 ๖	 ๗	 ๘
	(สามญั ) (เอก) (โท) (เอก) (จตั วา) (สามญั ) (เอก) (สามัญ)	 (ตรี) (จัตวา) (จตั วา) (สามญั ) (โท) (สามญั ) (โท) (สามญั )
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100