Page 90 - การอ่านภาษาไทย
P. 90
๖-80 การอา่ นภาษาไทย
เรื่องที่ ๖.๔.๓
ศิลปะการอ่านท�ำนอง โคลง ร่าย กาพย์ ฉันท์ กลอน
๑. เครื่องหมายท่ีจะใช้ในค�ำอธิบายศิลปะการอ่านท�ำนอง
เนอื่ งจากการอา่ นทำ� นองเปน็ การใชเ้ สยี งและใชโ้ สตประสาทสมั ผสั จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งสรา้ งเครอ่ื งหมาย
กำ� กบั เสยี ง และใชต้ วั เลขประกอบเพอื่ ใหอ้ ธบิ ายไดง้ า่ ยขนึ้ ตอ่ ไปนค้ี อื เครอ่ื งหมายทจ่ี ะใชก้ ำ� กบั เพอ่ื ฝกึ หดั
การอา่ นบทร้อยกรอง
๑) ตัวเลข ใช้แทนจำ� นวนคำ� หรอื พยางค์ในคณะตามรปู แบบร้อยกรอง
๒) เครื่องหมาย / ใชแ้ สดงการแบง่ ช่วงเสียงหรอื จงั หวะ
๓) เคร่ืองหมาย ^ ใชแ้ สดงการรวบเสียงของคำ�
๔) ค�ำในเคร่ืองหมายวงเล็บ ( ) แสดงเสยี งสูงตํา่ ของคำ� ตามวรรณยุกต์ ซ่ึงตอ้ งออกเสยี งถูกต้อง
ไมผ่ ิดเพย้ี น เพราะระดับเสยี งเป็นส่งิ สำ� คัญในการส่ือความหมายของคำ� เช่น เสอื เสอื่ เส้อื
๕) เคร่ืองหมาย จะใชแ้ สดงการเอ้อื นเสียง ซง่ึ จะเขียนกำ� กบั เฉพาะในตำ� แหนง่ ทเ่ี ห็นวา่
เออ้ื นเสยี งไดเ้ ดน่ ชดั เทา่ นน้ั เพราะไมส่ ามารถกำ� หนดแนน่ อนตายตวั ได้ ตอ้ งเออื้ นไปตามอารมณค์ วามรสู้ กึ
ของบทรอ้ ยกรอง
สว่ นการรับส่งสัมผัสไดก้ ลา่ วไวใ้ นตอนท่ี ๖.๒ แล้ว จึงไม่กลา่ วในที่น้ีอีก
๒. การอ่านท�ำนองจากบทร้อยกรองรูปแบบต่าง ๆ
ในเอกสารการสอนนี้จะกลา่ วถงึ เฉพาะรูปแบบรอ้ ยกรองบางแบบพอเปน็ ตัวอย่างเท่านัน้
๒.๑ การอ่านท�ำนองโคลง โคลงมีหลายชนิด ได้แก่ โคลงสี่ โคลงสาม โคลงสอง ซึ่งมีทั้งโคลง
สุภาพ และโคลงดัน้
ในทีน่ ี้จะแสดงตวั อย่างเฉพาะ โคลงส่ีสุภาพ
ก. ช่วงเสียงของโคลงสี่สุภาพ
บาทแรก วรรคแรก ๒ ช่วง แบง่ เป็น สอง/สาม หรือ สาม/สอง
วรรคทีส่ อง ๑ ช่วง เปน็ สอง ถา้ มีสรอ้ ยคำ� กเ็ พิ่มอกี ๑ ช่วง เปน็ สอง
บาทที่ ๒ และ ๓ จงึ แบ่งชว่ งเสยี งเป็น สาม/สอง/สอง/ หรอื สอง/สาม/สอง/
บาทที่ ๔ แบ่งชว่ งเสยี งเหมอื นบาทแรก แตว่ รรคที่สอง ๑ ช่วงเปน็ สี่
ข. การเอ้ือนเสียงทอดเสียง ตามปกติ เอ้ือนท้ายวรรคแรกของแต่ละบาท ในบาทที่สอง
อาจเอื้อนเสยี งไดถ้ งึ ค�ำที่ ๑ ค�ำท่ี ๒ ของวรรคทส่ี อง และบาทที่ ๔ ระหวา่ งค�ำท่ี ๒ กบั คำ� ท่ี ๓ ของวรรค
ท่สี อง และทอดเสยี งตามตำ� แหน่งรับสมั ผัส โดยพจิ ารณาตามความเหมาะสมดว้ ย