Page 86 - การอ่านภาษาไทย
P. 86
๖-76 การอ่านภาษาไทย
๑.๒ การออกเสียงถูกต้อง มีวิธกี ารดงั นี้
๑) อ่านออกเสียงค�ำทุกค�ำให้ถูกต้องตามรูปแบบของร้อยกรอง ไดแ้ ก่
ก. คณะ ออกเสียงคำ� หรอื พยางค์ให้ครบจำ� นวนตามขอ้ บงั คับ ออกเสียง เอก โท ครุ
ลหุ ใหถ้ ูกต้อง ค�ำบางค�ำอาจตอ้ งแยกเสยี งหรอื รวบเสียง เช่น ในกลอนแปด คำ� ทเ่ี กิน ๘ หรอื ๙ พยางค์
ตอ้ งรวบเสียงลง
ข. ช่วงเสียงหรือจังหวะ แบง่ ใหถ้ กู ตามลลี าของรอ้ ยกรอง ซง่ึ รอ้ ยกรองแตล่ ะรปู แบบ
กำ� หนดไม่เหมือนกัน เช่น
กลอนแปด แบง่ ชว่ งเสยี งแตล่ ะวรรคเปน็ สาม/สอง/สาม หรอื สาม/สาม/สาม (ในกรณี
ทีค่ ำ� เกิน ๘ ค�ำ)
ตัวอย่าง พอฟา้ คลา้ํ /ค่าํ พลบ/เสียงกบเขียด ร้องกรีดเกรียด/เกรียวแซ/่ ดงั แตรสงั ข์
เหมือนเสียงฆอ้ ง/กลองโหม/ประโคมดงั ไมเ่ ห็นฝัง่ /ฟั่นเฟอื น/ดว้ ยเดอื นแรม
ค. สัมผัส ออกเสยี งสมั ผสั ใหต้ รงตามตำ� แหนง่ ซงึ่ ผอู้ า่ นตอ้ งมคี วามแมน่ ยำ� ในลกั ษณะ
บงั คับสัมผัส (ดังกลา่ วแลว้ ในเร่อื งที่ ๖.๒.๑) ตอ้ งทอดเสยี งรบั ส่งสมั ผสั ให้ถูกต้อง
๒) อ่านออกเสียงให้ถูกต้องตามคุณสมบัติของเสียง ได้แก่ ถูกต้องตามท่ีเกิดของเสียง
ถกู ต้องตามขนาดเสยี งสั้นยาวของคำ� (ยกเวน้ ค�ำท่ีนยิ มออกเสยี งผดิ ไปจากรูปคำ� เชน่ น้าํ อา่ นว่า นา้ ม)
ถกู ต้องตามระดับเสยี งสงู ต่ํา เนน้ เสียงหนัก เบา ดัง คอ่ ย ตามลักษณะของคำ� และอารมณ์ของรอ้ ยกรอง
ตัวอย่าง พี่คือมานพน้อยชาญสกา (กากคี ำ� กลอน)
ไมอ่ ่านผิดเสียง เปน็ ผี คอื หมา นบ นอย ชาน สะ กา
เชน่ ๓) อ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษา หรืออักขรวิธี เช่น คำ� พ้อง อักษรน�ำ ค�ำควบกลาํ้ ร ล
ค�ำพ้อง กรี แปลว่า กระดกู แหลมหวั กงุ้ อา่ นออกเสยี ง กร ควบกลํา้ กนั เป็น กรี
กรี แปลวา่ ช้าง อา่ นออกเสยี งแยกพยางค์ เปน็ กะ-รี
เพลา แปลวา่ ตัก อ่านออกเสยี ง พล ควบกลํา้ เป็น เพลา
เพลา แปลวา่ เวลา อ่านออกเสียงแยกพยางค์ เปน็ เพ-ลา
ค�ำควบกล้ํา ทรงเคาะทวารวง วรเขตธอาไศรย
ทรง เป็นค�ำควบกลํา้ อกั ษรควบไม่แท้ ออกเสยี งเปน็ เสยี งอนื่ คอื ซ-ซง
ทวาร ท เป็นอักษรกลางนำ� ออกเสยี ง ทะ-วาน