Page 91 - การอ่านภาษาไทย
P. 91

การอา่ นรอ้ ยกรอง ๖-81

ตัวอย่าง โคลงส่ีสุภาพ ช่วงเสียง สอง/สาม/สอง

	 เดือนชว่ ง/ดวงเดน่ ฟ้า/ 		                    ดาดาว
จรญู จรสั /รศั มพี ราว/ 		                      พรา่ งพร้อย
ยามดึก/นึกหนาวหนาว/ 		                          เขนยแนบ / แอบเอย
เยน็ ฉํา่ /นา้ํ ค้างยอ้ ย/ 		                   เยอื กฟ้า/พาหนาว

                                                                   (สุนทรภู่. โคลงนิราศสุพรรณ)

    ค. อ่านออกเสียง ดงั น้ี                       ดา	 ดาว
	 เดอื น	 ชว่ ง/	 ดวง	 เด่น	 ฟา้ /	               ๑	 ๒
	 ๑	 ๒	 ๓ 	 ๔ 	 ๕ 	                             (สามัญ)	 (สามญั )
(สามญั ) 	 (โท)	 (สามัญ)	 (เอก)	 (ตร)ี 	

	 จรูญ 	 จรสั 	 รัศ	 มี	 พราว/	                 พร่าง	 พรอ้ ย
	 ๑	 ๒	 ๓	 ๔ 	 ๕	                                ๑	 ๒
	(สามญั )	 (เอก) 	 (ตรี) 	 (จตั วา) 	(สามญั )	  (โท)	 (ตร)ี

	 ยาม	 ดกึ /	 นกึ 	 หนาว	 หนาว/	                เขนย	 แนบ/	 แอบ	 เอย
	 ๑ 	 ๒	 ๓ 	 ๔ 	 ๕	                               ๑	 ๒	 ๓	 ๔
	(สามญั )	 (เอก)	 (ตรี)	 (จตั วา)	(จตั วา)	
                                                (จตั วา)	 (โท)	 (เอก)	 (สามัญ)

	 เยน็ 	 ฉํา่ /	 นาํ้ 	 ค้าง	 ยอ้ ย/	           เยอื ก	 ฟ้า/	 พา	 หนาว
	 ๑	 ๒	 ๓ 	 ๔	 ๕	                                ๑	 ๒	 ๓	 ๔
	(สามญั )	 (เอก)	 (ตรี)	 (ตรี)	 (ตร)ี 	         (โท)	 (ตรี)	 (สามญั )	 (จัตวา)

       ๒.๒ การอ่านท�ำนองร่าย วรรณกรรมร้อยกรองที่ใช้ร่ายแต่งโดยเฉพาะ มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา
จนถงึ ปัจจุบัน

            ก. ช่วงเสียงของร่าย รา่ ยสั้นและร่ายโบราณ วรรคหนงึ่ มี ๕ ค�ำ แบ่งเปน็ ๒ ช่วง สาม/สอง
บางแหง่ อาจแบ่งเป็น สอง/สาม เพอื่ มิใหฉ้ กี ค�ำ

            รา่ ยยาว ท้งั ร่ายโบราณและร่ายสภุ าพ ไม่มวี ิธแี บง่ ช่วงเสียงทแ่ี น่นอน ควรแบง่ ตามกลุม่ คำ�
ทจี่ บความหนง่ึ หากจ�ำเปน็ ตอ้ งแบง่ ชว่ งเสยี ง เพอ่ื ชว่ ยผอ่ นลมหายใจ ควรแบง่ ณ ต�ำแหนง่ ทกี่ ลมุ่ ค�ำไดส้ อื่
ความจบลงความหนึ่งแลว้ ไม่ควรแบ่งชว่ งเสยี งโดยฉกี คำ� หรอื หยุดหายใจจะทำ� ใหข้ าดความไพเราะ
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96