Page 88 - การอ่านภาษาไทย
P. 88

๖-78 การอา่ นภาษาไทย
            การเปล่งเสียงระดับสูงมาก ฟังแล้วจะท�ำให้เกิดความร้อนรนไม่สบายหูหรือต่ืนเต้น เช่น

เสยี งกรดี รอ้ ง เสยี งไซเรนครวญคราง การเปลง่ เสยี งระดบั ตาํ่ มาก เสยี งจะหายไปในลำ� คอ ฟงั ไมช่ ดั ไมเ่ กดิ
ความไพเราะ น่าเบ่ือ นา่ ร�ำคาญ

            ดังนน้ั ในการอา่ นทำ� นองบทรอ้ ยกรอง ผู้อ่านต้องจดั ระดับเสียงใหเ้ หมาะสม และปรับเสียง
สงู ตาํ่ ตามอารมณข์ องรอ้ ยกรอง จะทำ� ใหผ้ อู้ า่ นและผฟู้ งั เกดิ ความซาบซงึ้ ดมื่ ดาํ่ ในอรรถรส และสนุ ทรยี ภาพ
ของบทรอ้ ยกรองน้ันๆ

            ๔) การทอดเสียงเอ้ือนเสียง การเอื้อนเสียง คือ การเพิ่มขนาดความยาวของเสียงลงใน
ระหว่างค�ำซึ่งจะต้องจัดให้พอเหมาะพอดี ซึ่งไม่สามารถก�ำหนดแน่นอนและยากที่จะเขียนอธิบายเป็น
ลายลักษณ์อักษรได้ ส่วนการทอดเสียงใหพ้ ิจารณาคำ� ค่าของเสยี ง คา่ ของความหมายของคำ� ระดบั เสียง
สงู ตา่ํ ของคำ� ขนาดสน้ั ยาวของเสยี งสระ และการจดั คำ� มาเรยี งรอ้ ย ผอู้ า่ นควรเออื้ นเสยี งและทอดเสยี งโดย
ใช้โสตประสาทของตนตัดสนิ วา่ เหมาะสมหรอื ไพเราะหรอื ไม่

            บทรอ้ ยกรองทม่ี คี ณุ คา่ ยอ่ มมคี วามงาม มธี รรมชาตขิ องเสยี งทจี่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ อารมณต์ า่ งๆ ใน
ตวั เองอยู่แลว้ ซง่ึ ผศู้ กึ ษาตอ้ งหมั่นพจิ ารณาฝึกฝนจนมคี วามชำ� นาญ และอา่ นร้อยกรองไดไ้ พเราะ

            อยา่ งไรกต็ าม การทอดเสยี ง เออื้ นเสยี ง ถา้ มมี ากแพรวพราวเกนิ ไป กอ็ าจจะทำ� ลายรสเสนาะ
ของบทรอ้ ยกรองลง ถา้ มนี อ้ ยเกนิ ไปหรอื ไมม่ เี ลยกจ็ ะแหง้ แลง้ ไมม่ ชี วี ติ ชวี า ขาดความละมนุ ละไมรนื่ หู

            ๕) อา่ นดว้ ยความซาบซง้ึ คอื การอา่ นโดยใสอ่ ารมณค์ วามรสู้ กึ ไปตามลลี าของบทรอ้ ยกรอง
ดว้ ยความรสู้ กึ ชนื่ ชม และซาบซง้ึ ในคณุ คา่ ของบทรอ้ ยกรองนน้ั ๆ การอา่ นและฟงั บทรอ้ ยกรองเปน็ ทำ� นอง
ประสาทสมั ผสั ของผอู้ า่ นจะกระทบกบั คำ� ทกี่ วนี ำ� มารอ้ ยเรยี งกนั เกดิ เสยี ง สอื่ ความหมาย เกดิ ภาพ เกดิ เรอื่ ง
เกดิ ความเคลอ่ื นไหว สง่ สารสผู่ อู้ า่ นผฟู้ งั เมอื่ รบั สารไดต้ รงกนั กร็ สู้ กึ หรอื สมั ผสั ความงามของรอ้ ยกรองนน้ั ๆ ได้
ไมว่ ่าจะเปน็ อารมณร์ กั โกรธ เกลยี ด ช่ืนชม โศกเศร้า หมน่ หมอง หรืออารมณส์ นุกรน่ื เริง ฯลฯ ซ่ึงกระทำ�
ไดโ้ ดยการออกเสียงหนกั เบา ออ่ นโยน ช้าเรว็ ทอดเสียงเนบิ ช้า ละมนุ ละไม กระแทกกระท้นั เสียงสูงตํ่า
เปลย่ี นแปรไปตามอารมณ์ความรสู้ ึกของบทรอ้ ยกรองนั้นๆ

            การอ่านท�ำนองรอ้ ยกรองอยา่ งมอี ารมณซ์ าบซึง้ กค็ อื การอา่ นออกเสียงทอ่ี ารมณข์ องผู้อา่ น
สัมผัสกระทบกับอารมณ์ของกวีที่บรรจุไว้ในถ้อยค�ำของบทร้อยกรอง โดยผู้อ่านเปล่งเสียงตามถ้อยค�ำ
สอดคลอ้ งกับอารมณน์ ้ันๆ

๒. สรุปข้ันตอนการอ่านท�ำนองบทร้อยกรอง คือ

       ขั้นที่ ๑ 	จดจำ� รปู แบบ และข้อบังคับของร้อยกรองทจี่ ะอา่ นใหแ้ มน่ ยำ�
       ขน้ั ที่ ๒ 	 อา่ นออกเสยี ง ใหไ้ ดจ้ งั หวะหรอื ชว่ งเสยี งตามรปู แบบรอ้ ยกรอง และจดั ระดบั เสยี งใหเ้ หมาะสม
อา่ นคำ� ใหถ้ ูกตอ้ ง เลือ่ นไหลไปตามจงั หวะ รอ้ ยเสียงประสานกันโดยจัดระดบั เสียงให้เหมาะสม
       ขน้ั ที่ ๓ 	ใสท่ ำ� นองตามแบบแผนทีโ่ บราณาจารยก์ �ำหนด
       ขน้ั ที่ ๔ 	ใส่อารมณใ์ นการอา่ นใหส้ อดคล้องกบั บทบาทของตวั ละครหรอื เรื่อง
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93