Page 87 - การอ่านภาษาไทย
P. 87
การอ่านร้อยกรอง ๖-77
๔) อ่านออกเสียงพยัญชนะพิเศษ เชน่ ฤ ฑ
ฤ ออกเสียงได้ ๓ เสียง ริ รึ เรอ
ฑ ออกเสยี งได้ ๒ เสยี ง ท ด
เช่น ฤทธ์ิ ออกเสยี ง รดิ มฤค ออกเสยี ง มะ-รึก ฤกษ์ ออกเสยี ง เริก
มณฑล ออกเสียง มน-ทน มณฑป ออกเสยี ง มน-ดบ
ขอใหน้ ักศกึ ษาทบทวนหลักการออกเสียงคำ� จากต�ำราไวยากรณ์
๕) อ่านยัติภังค์ คือ คำ� ท่ไี มจ่ บในวรรค ต้องทอดเสียงไปในวรรคตอ่ ไป มักมเี คร่อื งหมาย-
ก�ำกับ ต้องอ่านเชือ่ มค�ำใหเ้ ร็วขนึ้ เช่น
โดยจิตแลเจตนาปรา- รภรับประทานทาน
(กมุ ารคำ� ฉนั ท์)
ข้าขอถวายอัญ- ชลอิ งคส์ โุ รดม
(มัทนะพาธา)
๖) อ่านออกเสียงเป็นพิเศษเพื่อรับส่งสัมผัส เชน่
คดิ แล้วจึงวา่ กับคนธรรพ ทา่ นชา่ งขับเฉอื่ ยฉาํ่ เปน็ คำ� หวาน
คนธรรพ ตามปกตเิ ขยี น คนธรรพ์ อา่ นวา่ คน-ทนั แตเ่ พอื่ ใหร้ บั สมั ผสั กบั ขบั จงึ ตอ้ งอา่ น
ว่า คน-ทบั
๑.๓ สมรรถภาพในการอ่าน มวี ิธกี ารดงั น้ี
๑) อ่านหนังสือแตก อ่านไดเ้ ร็วและถกู ตอ้ ง เลือ่ นสายตากวาดไปตามคำ� ได้ทนั กับการออก
เสียง อา่ นตดิ ต่อรับรอ้ ยกนั ไดจ้ บวรรค โดยแบง่ ชว่ งเสยี งตามจงั หวะทร่ี ปู แบบรอ้ ยกรองก�ำหนด รจู้ กั ผ่อน
ลมหายใจเปน็ ชว่ งๆ เพอ่ื เสยี งไมส่ ะดดุ ตะกกุ ตะกกั ขาดความรอ้ ยรบั คลอ้ งจอง ซงึ่ จะทำ� ใหห้ มดความไพเราะ
ร้อยกรองนั้นก็จะหมดคณุ ค่า
๒) ผ่อนช่วงลมหายใจ ให้เหมาะกบั จงั หวะการแบง่ ช่วงเสียงโดยเสยี งไม่หดหาย และผอ่ น
ลมหายใจเมื่อความจบ หรือจบวรรค ให้เสียงกลมกลืนกับการทอดเสียง ควรระวังการหายใจแรงเมื่อ
จบวรรค เพราะถา้ อา่ นเขา้ เครอ่ื งขยายเสยี งจะไดย้ นิ เสยี งลมหายใจดงั แทรกขน้ึ หรอื เสยี งของคำ� ขาดเปน็ หว้ ง
เพราะหยุดหายใจ จะท�ำให้การอ่านท�ำนองร้อยกรองนั้นหมดความไพเราะ และบทร้อยกรองนั้นจะหมด
ความงาม
๓) การจัดระดับเสียง เนือ่ งจากระดบั เสียงมอี ิทธพิ ลต่อโสตประสาทการรบั ฟัง ระดับเสียง
มีคุณสมบัตินอ้ มน�ำใหเ้ กดิ อารมณต์ ่างๆ ได้