Page 82 - การอ่านภาษาไทย
P. 82
๖-72 การอา่ นภาษาไทย
เรื่องที่ ๖.๔.๑
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการอ่านออกเสียงร้อยกรอง
๑. เหตุท่ีต้องอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
เน่ืองด้วยรูปแบบของร้อยกรอง ประกอบด้วยข้อบังคับทั้งทางรูปอักษรและทางเสียงของค�ำ ซึ่ง
เป็นสิ่งที่มบี ทบาทเดน่ ช่วยเสรมิ สร้างใหบ้ ทรอ้ ยกรองงดงาม หรือเป็นท่ีชื่นชม ประทับใจ ดังนัน้ การอา่ น
ออกเสียงบทร้อยกรองเพื่อให้โสตประสาทสัมผัสเสียงของค�ำจากบทร้อยกรอง จึงมีความส�ำคัญและส่งผล
ใหผ้ อู้ า่ นได้รับอรรถรส และสุนทรยี ภาพ หรือความงามความไพเราะเดน่ ชดั ขน้ึ
ศาสตราจารย์ พลตรี พระเจา้ วรวงศ์เธอ กรมหม่นื นราธปิ พงศ์ประพันธ์ ทรงพระนพิ นธ์ ไว้วา่
“กวีนิพนธ์ที่ร้อยกรองขึ้นน้ัน มีความมุ่งหมายจะให้อ่านออกมาดัง ๆ ไม่ใช่แต่เพียงให้มอง
ดูรูปสลวยของอักษร และการอ่านกวีนิพนธ์แม้จะอ่านในใจ ตามต�ำราวรรณคดีวิพากษ์ของ
ต่างประเทศ ก็บอกไว้ว่า “ให้อ่านออกมาดัง ๆ ในใจ” ความนิยมของไทยก็เป็นเช่นน้ันเหมือนกัน
ฉะนนั้ การชมกวนี พิ นธ์ เราจงึ มกั ชมกนั วา่ ไพเราะจบั ใจ ซง่ึ ยอ่ มหมายความวา่ ถอ้ ยคำ� มเี สยี งไพเราะ
และเน้ือความประกอบด้วยความรู้สึกที่จับใจ...
การอ่านกวีนิพนธ์ออกมาดัง ๆ เป็นวิธีท่ีพึงใช้ในการช่ืนชม (enjoy) กวีนิพนธ์ กับทั้งเป็น
วิธีช่วยการประพันธ์กวีนิพนธ์ด้วย เพราะถ้าอ่านออกมาดัง ๆ แล้ว จะได้รสไพเราะเต็มค่า...
การอ่านหนังสือออกมาดัง ๆ เฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับกวีนิพนธ์ เป็นส่ิงส�ำคัญที่นักศึกษาจะพึงหัด...
อักษรศิลปหรือศิลปะในการประพันธ์นั้น ทุกคนจะประกอบไม่ได้ ได้แต่ผู้มีอุปนิสัยรักไปทางนั้น...
ดว้ ยเหตนุ ้ี ฉนั จงึ กล่าววา่ สำ� หรบั นักศึกษาในมหาวิทยาลัย การอา่ นกวีนพิ นธม์ ีความส�ำคัญมากกวา่
การแต่งกวีนิพนธ์
เม่ืออ่านกวีนิพนธ์ได้ถูกท�ำนองแล้ว ล�ำน�ำ จะปรากฏออกมาเอง... ในการอ่านกวีนิพนธ์
ท่านควรอ่านออกมาดัง ๆ เพ่ือท่ีจะได้รับรสแห่งความไพเราะและจังหวะเสียง...
(ศาสตราจารย์ พลตรี พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนนราธิปพงศป์ ระพันธ์. (๒๕๒๒). ข้อสงั เกตแห่งการแตง่ ฉนั ท์,
น. ๔๗๘ และรสนิยมวรรณคด,ี น. ๕๑๑)
ขอ้ ความขา้ งต้น แสดงให้เหน็ วา่
๑) การอา่ นรอ้ ยกรอง เพอ่ื ใหส้ ามารถชื่นชมสนุ ทรียภาพไดน้ ั้น ตอ้ งใชว้ ิธอี า่ นออกเสียงดงั ๆ
๒) การอ่านวรรณกรรมร้อยกรอง และสามารถช่ืนชมความงามได้น้ัน มีความส�ำคัญและมี
ความเปน็ ไปไดม้ ากกว่าการแตง่