Page 77 - การอ่านภาษาไทย
P. 77
การอ่านร้อยกรอง ๖-67
เรื่องที่ ๖.๓.๔
การอ่านร้อยกรองเพื่อวิพากษ์วิจารณ์
วรรณกรรมรอ้ ยกรอง เปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาทที่ รงคณุ คา่ และเปน็ มรดกศลิ ปวฒั นธรรม ทแี่ สดง
ถึงอารยธรรมและเกียรติภูมิของไทย ในปัจจุบัน วิถีชีวิตที่เร่งรีบ และเทคโนโลยีก้าวหน้า ได้หันเห
ความสนใจในวรรณกรรมร้อยกรองของไทยไปหาผลผลิตทางวิทยาศาสตร์เป็นอันมาก จึงควรเร่งรีบฟื้นฟู
ความสนใจในการศกึ ษาวรรณกรรมรอ้ ยกรอง เพอื่ ใหอ้ นชุ นของไทยตระหนกั ในความสำ� คญั และคณุ คา่ ของ
ผลงานรอ้ ยกรอง และสืบทอดมรดกศิลปะการร้อยกรองให้ดำ� รงอยู่ยัง่ ยืนสบื ไป
การอา่ นวรรณกรรมรอ้ ยกรองเพอ่ื วพิ ากษว์ จิ ารณ์ เปน็ วธิ หี นง่ึ ทจี่ ะชว่ ยใหม้ หาชนชน่ื ชมความงาม
และคณุ คา่ ของผลงานรอ้ ยกรอง และเกดิ ศรทั ธาในการสง่ เสริมสงวนรกั ษาและสบื ทอดให้ทรงคณุ คา่ ยง่ั ยนื
ตลอดไป
๑. ความหมายของการวิพากษ์วิจารณ์
๑.๑ วรรณคดีวิพากษ์ ศาสตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนนราธิปพงศ์ประพันธ์
(๒๕๒๔) ได้ทรงพระนพิ นธ์ไว้ว่า
“วรรณคดวี พิ ากษ์ ตอ้ งอาศยั วจิ ารณญาณจงึ จะอาจเรยี นรไู้ ด้ และการวพิ ากษ์ กระทำ� ไดด้ ว้ ย
ญาณหย่ังรู้ อาศัยความรู้ในใจว่า บทประพันธ์บทหน่ึง ๆ จะดีหรือไม่ดี อย่างไร ซ่ึงในการกระท�ำนี้
ก็ย่อมต้องมีหลักซึ่งได้พิจารณาศึกษาและจัดระเบียบไว้ โดยอาศัยพุทธิปัญญา (Intellectual) ด้วย
และคุณค่าของการวิพากษ์อยู่ท่ีการช่วยให้ผู้ประพันธ์สามารถใช้ก�ำลังความสามารถของตนใน
การสร้างวรรณคดี ในทางท่ีให้ผลดีท่ีสุดและชอบด้วยเหตุผลท่ีสุด และส�ำหรับผู้อ่านก็เช่นเดียวกัน
การวพิ ากษจ์ ะชว่ ยใหผ้ อู้ า่ นชน่ื ชมวรรณคดใี หไ้ ดร้ สอยา่ งดที สี่ ดุ
๑.๒ การวิพากษ์วิจารณ์ ศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (๒๕๐๓) กล่าวไว้ว่า หลักแห่ง
การวิจารณ์ (Criticism) มอี ยดู่ ว้ ยกนั ๓ หลกั คือ
๑) วจิ ารณใ์ นแง่ความรูส้ กึ นกึ เหน็ ของตน (Impressionistic criticism)
๒) วจิ ารณใ์ นแง่แปลความหมาย (Interpretative criticism)
๓) ในแงว่ ิพากษ์วจิ ารณเ์ ปน็ อยา่ งให้คำ� พิพากษา (Judicial criticism)