Page 75 - การอ่านภาษาไทย
P. 75

การอ่านรอ้ ยกรอง ๖-65
       ๑) 	อ่านวรรณกรรมร้อยกรองเร่ืองทต่ี อ้ งการคลค่ี ลายปญั หาอย่างพนิ จิ พิเคราะหโ์ ดยละเอยี ด
       ๒)	อ่านวรรณกรรมร้อยกรองเรื่องอ่ืนๆ ของกวีผู้แต่ง เพื่อหาข้อมูลหลักฐาน ข้อสังเกต น�ำมา
เปรียบเทยี บ เพือ่ สนับสนนุ ข้อมูลหรอื หลกั ฐานที่พบ
       ๓)	ผูอ้ า่ นต้องฝกึ ฝนอบรมตนให้มีคณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี

            ก. เปน็ ผมู้ คี วามรกู้ วา้ งขวางในวชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วรรณคดหี ลายสาขา เชน่ ประวตั ศิ าสตร์
ภาษา (บาลี สันสกฤต หรือภาษาท้องถ่ินส�ำหรับวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น) ภูมิศาสตร์ ศิลปกรรม
ประตมิ ากรรม กฎหมาย ประวตั วิ รรณคดี เพอ่ื ใหม้ คี วามรพู้ น้ื ฐานประกอบในการคน้ ควา้ ตคี วาม ทำ� ความ
เขา้ ใจในสาระเรอ่ื งและดงึ ขอ้ มลู จากสาระเรอื่ งหรอื บทรอ้ ยกรองนน้ั ๆ ได้ ตวั อยา่ งเชน่ นายธนติ อยโู่ พธิ์ ใช้
ความรู้ด้านประวัติศาสตร์ น�ำหลักฐานปีท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยข้ึนครองราชย์และปีท่ี
สรา้ งวดั เทพธดิ ารามมาประกอบการวนิ จิ ฉยั วา่ ผแู้ ตง่ นริ าศพระแทน่ ดงรงั ไมใ่ ชส่ นุ ทรภู่ แตค่ อื นายมี หรอื
หม่ืนพรหมสมพตั ศร ผู้แตง่ กลอนนริ าศสุพรรณ

            ข. เปน็ ผสู้ นใจวรรณคดเี ปรยี บเทยี บ เพอื่ ใหส้ ามารถวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บวรรณกรรมหลาย
เรือ่ ง ดงั จะเหน็ ไดว้ ่า นายธนติ อย่โู พธิ์ ผ้บู นั ทกึ เรือ่ งผแู้ ต่งนิราศพระแทน่ ดงรัง ได้นำ� ข้อมลู จากวรรณคดี
เรอื่ งตา่ งๆ ในสมยั เดยี วกบั นริ าศพระแทน่ ดงรงั หลายเรอื่ ง ไดแ้ ก่ เพลงยาวถวายโอวาท รำ� พนั พลิ าป โคลง
นริ าศสพุ รรณ ของสนุ ทรภู่ นิราศเดอื น นริ าศสุพรรณ และนิราศถลาง ของนายมี (หมืน่ พรหมสมพตั ศร)
มาศึกษาเปรียบเทียบทั้งในด้านส�ำนวนโวหาร แบบแผนเฉพาะตัวของกวี (Style) กลวิธีการน�ำเสนอ
ลกั ษณะเดน่ ของกวีท่ีเผยให้ปรากฏในวรรณกรรมร้อยกรองที่ตนแต่ง
ตัวอย่าง ผลงานการศึกษาค้นคว้า

       ๑) คุณลักษณะของวรรณกรรมร้อยกรอง
            - มณปี ิน่ พรหมสุทธิรกั ษ.์ - ทวาทศมาส: นิราศหรือต�ำราการประพันธ์, บทความเสนอ

ในการประชมุ ทางวชิ าการเรอ่ื ง “วรรณคดมี รดก การอนรุ กั ษด์ ว้ ยการศกึ ษาและวจิ ยั , มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร,
๒๓ สงิ หาคม ๒๕๔๗

       ๒) ชีวิตและผลงานของสุนทรภู่
            - ดำ� รงราชานภุ าพ, สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ, กรมพระยา, - ประวัติสุนทรภู่: ชีวิตและ

งานของสนุ ทรภ ู่  (ฉบบั กรมศลิ ปากรตรวจสอบชำ� ระใหม)่ พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๗ องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา พมิ พจ์ ำ� หนา่ ย
(คำ� น�ำ) กรุงเทพฯ ๒๕๓๔

       ๓) ลิลิตพระลอ
            - ด�ำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา, คำ� วนิ จิ ฉยั ท่ี ๑ (เรอื่ งลลิ ติ 	

พระลอ) สมาคมวรรณคดปี ีท่ี ๑ ฉบบั ท่ี ๕, ๒๑ มิถนุ ายน ๒๔๗๕ หน้า ๗
       ๔) ท่ีมาของโคลงฉันท์กาพย์กลอนไทย
            - ธนิต อยู่โพธ์ิ - การสืบสาวราวเรื่องกาพย์กลอนโคลงฉันท์, กรมศิลปากร, กรุงสยาม

การพิมพ์ กรุงเทพฯ ๒๕๑๗
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80