Page 81 - การอ่านภาษาไทย
P. 81

การอา่ นร้อยกรอง ๖-71

ตอนที่ ๖.๔				
การอ่านท�ำนอง

โปรดอา่ นหวั เร่อื ง แนวคิด และวตั ถุประสงคข์ องตอนท่ี ๖.๔ แลว้ จึงศกึ ษารายละเอียดตอ่ ไป

  หัวเร่ือง

         ๖.๔.๑ 	ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกับการอ่านออกเสยี งรอ้ ยกรอง
         ๖.๔.๒ 	ศิลปะและขัน้ ตอนในการฝึกอ่านท�ำนอง
         ๖.๔.๓ 	ศลิ ปะการอา่ นทำ� นอง โคลง ร่าย กาพย์ ฉนั ท์ กลอน

  แนวคิด

         ๑. 	ก ารท่ีผู้อ่านจะสามารถได้รับรสจากบทร้อยกรองอย่างสมคุณค่าจะต้องอ่านออกเสียง
            ตามทว่ งทำ� นอง และลลี าของรปู แบบรอ้ ยกรองนน้ั ๆ ซง่ึ โบราณาจารยไ์ ดก้ ำ� หนดทำ� นอง
            เปน็ แบบแผนไว้

         ๒.	ภาษาไทย เปน็ ภาษาทง่ี ดงาม ไพเราะดว้ ยเสยี งดนตรี อนั มพี ยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์
            ทง้ั รปู และเสยี งกำ� กบั การเปลง่ เสยี งของคำ� ในบทรอ้ ยกรองแตล่ ะวรรค แตล่ ะบาท แตล่ ะบท
            จะต้องถูกต้องตามเสียงของภาษา สอดคล้องกับลีลา ช่วงเสียง ของรูปแบบร้อยกรอง
            แตล่ ะรปู แบบ และอารมณข์ องรอ้ ยกรองทกี่ วีสรา้ งสรรคไ์ ว้ในแตล่ ะบทแตล่ ะตอน

         ๓. 	ก ารอา่ นทำ� นองจากบทรอ้ ยกรอง ตอ้ งแบง่ ชว่ งเสยี งใหถ้ กู ตอ้ ง มกี ารเออื้ นเสยี งทอดเสยี ง
            ตามรูปแบบของค�ำประพันธแ์ ต่ละชนดิ

  วัตถุประสงค์	

         เมือ่ ศึกษาตอนท่ี ๖.๔ จบแลว้ นักศกึ ษาสามารถ
         ๑. 	ทราบศลิ ปะและข้นั ตอนการฝึกอ่านท�ำนองได้
         ๒. 	เขยี นคำ� อา่ น และจดั เสยี งของคำ� แบง่ ชว่ งเสยี งของบทรอ้ ยกรองแตล่ ะรปู แบบไดถ้ กู ตอ้ ง
         ๓. 	อ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทำ� นองได้
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86