Page 54 - โลกทัศน์ไทย
P. 54

9-44 โลกทศั นไ์ ทย
            ท่านได้จ้างคนจีนชื่อ คิง ให้แปลพระคัมภีร์แบบปากเปล่าจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยและ

ใหค้ นพม่าชอื่ ฮัน เปน็ ผเู้ รยี บเรียงจดลงเปน็ ภาษาไทยด้วยอักษรโรมัน ปรากฏวา่ ในเวลา 6 เดอื น ได้แปล
หนังสอื 4 เล่มแรกในพระคัมภรี ์ภาคพันธสัญญาใหม่ คือ มัทธวิ มาระโก ลูกา และยอห์น (ซึง่ นิกายโปร-
เตสแตนต์เรียกว่า หนังสือพระกิตติคุณ) นอกจากนี้ท่านยังได้ทําหนังสืออภิธานภาษาอังกฤษ-ไทย จาก
อกั ษร A ถงึ R และแปลพระคัมภีร์ออกเป็นภาษาลาวและเขมรดว้ ย

            ศาสนาจารย์ท้ังสองท่านเห็นว่า งานเผยแผ่ศาสนาก�ำลังเติบโตขึ้นมาก ท่านจึงขอความ
ชว่ ยเหลอื ไปยงั คณะกรรมาธกิ ารอเมรกิ นั (The American Board of Commissioners for Foreign
Missions: ABCFM) แตป่ รากฏวา่ ธรรมทตู ท่ีมาช่วยงานปว่ ยจงึ ตอ้ งเดินทางกลับไปอเมริกา

            2) 	คณะกรรมการอเมริกันแบ๊บติสต์ (The American Baptist Missions: ABM)
คณะธรรมการน้ี เดิมท�ำงานเผยแผ่ศาสนาอยู่ในประเทศพม่า ได้รับจดหมายขอความช่วยเหลือจาก ศจ.
กตุ สลาฟ และ ศจ.ทอมลิน คณะจงึ สง่ ศจ.จอห์น เทเลอร์ โจนส์ และครอบครวั เข้ามาช่วยงาน ท่านเดิน
ทางมาถึงประเทศไทยเมือ่ วนั ท่ี 25 มนี าคม ค.ศ. 1833

            ศจ.โจนส์ ไดส้ านตอ่ งานแปลพระคมั ภรี ์ คอื การแปลพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหมท่ งั้ หมด
เปน็ ภาษาไทย ซึง่ เสรจ็ สมบูรณใ์ นปี ค.ศ. 1845 นอกจากนี้ทา่ นยังไดส้ อนศาสนาแก่คนไทย คนมอญ และ
คนจีนทีร่ ู้ภาษาไทย

            ในยุคนี้มีเหตุการณ์ทีส่ ำ� คัญอกี อย่างหนึ่งคือ ศจ.วลิ เล่ยี ม ดีน เดนิ ทางมาประเทศไทยวนั ที่
18 กรกฎาคม ค.ศ. 1835 เพอ่ื เผยแผศ่ าสนาแกค่ นจนี ในกรงุ เทพฯ จนประมาณปี ค.ศ. 1837 ทา่ นกส็ ามารถ
ตงั้ ครสิ ตจกั รโปรเตสแตนตแ์ หง่ แรกขน้ึ ในประเทศไทยได้ และเปน็ ครสิ ตจกั รโปรเตสแตนตแ์ หง่ แรกในเอเชยี
บูรพา ตัวของ ศจ.ดีนเองได้เป็นศิษยาภิบาลของครสิ ตจักรนนั้ ด้วย

            3) 	คณะกรรมการธรรมการฝ่ายต่างประเทศ (Board of Foreign Missions: BFM) และ
คณะธรรมการ อเมริกันเพรสไบทีเรียน (The American Presbyterian Mission: APM) ประมาณปี
ค.ศ. 1835-1840 มคี ณะธรรมทูตที่เขา้ มาสรา้ งความกา้ วหนา้ ให้แกส่ งั คมไทยเป็นอย่างมาก คือ ครอบครัว
ของ ศจ.ชารล์ ส์ โรบนิ สนั ครอบครัวของ ศจ.เจมส์ แคสเวลล์ ครอบครัวของ ศจ.สตีเฟน จอห์นสัน และ
ครอบครวั ของ ศจ.นายแพทย์แดน บีช บรดั เลย์

            ศจ.โรบนิ สนั และจอหน์ สนั ไดเ้ ชา่ ทด่ี นิ แปลงเลก็ ๆ เหนอื วดั เกาะ แตเ่ พอื่ นของทา่ น คอื กปั ตนั
แวลเลอร์ชาวองั กฤษไดแ้ วะมาเยยี่ มเเละใช้ปนื ไปยิงนกในวดั จงึ ถกู ขบั ไล่ให้ใปอย่ทู ่ีอื่น

            สว่ น ศจ.แคสเวลล์ ไดเ้ ปน็ ผสู้ อนภาษาองั กฤษ และวทิ ยาศาสตรแ์ ดเ่ จา้ ฟา้ มงกฎุ (คอื พระบาท-
สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ) ขณะทยี่ งั ทรงผนวชอยทู่ วี่ ดั บวรนเิ วศเเละทรงสนทิ สนมกบั ศจ.แคสเวลลม์ าก
เพราะทรงสนใจความร้แู ละวัฒนธรรมต่างๆ จากประเทศตะวนั ตก

            บุคคลท่ีสร้างความก้าวหน้าแก่สังคมไทยเป็นอย่างมาก คงไม่มีใครจะเกิน ศจ.นายแพทย์
บรดั เลย์ ท่านเดนิ ทางมาถึงเมืองไทยในปี ค.ศ. 1835 และก็ได้ตง้ั โอสถศาลาข้นึ เพือ่ รกั ษาโรคตา่ งๆ ให้กบั
คนไข้ทั้งท่เี ปน็ คนไทยและคนจีน โรคทีร่ ักษามรี มู าตซิ มั่ ไขจ้ บั สน่ั ไข้ทรพิษ อหิวาตกโรค การศลั ยกรรม
ผา่ ตดั การทำ� คลอด ทา่ นประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งมากในการปลกู ฝี ปอ้ งกนั ไขท้ รพษิ ในปี ค.ศ. 1938 ทา่ น
ไดร้ บั พระราชทานเงินเป็นรางวลั ถงึ 400 บาท
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59