Page 21 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 21
การเมืองและเศรษฐกจิ ในสมยั รฐั บาลพลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา 15-11
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และการเตรียมการเลือกต้ัง
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ไดป้ ระกาศใชเ้ มอื่ วนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560
จากนั้นคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญได้ท�ำการร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญท่ีส�ำคัญ 4 ฉบับ
จากทั้งหมด 10 ฉบับ ได้แก่ รา่ งพระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยพรรคการเมอื ง ร่างพระราช
บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ร่างพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซ่ึงสมาชิกวุฒิสภา และร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
คณะกรรมการการเลอื กตง้ั โดยสภาขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศจะไดส้ ง่ ความคดิ เหน็ ไปยงั คณะกรรมการ
รา่ งรฐั ธรรมนญู เพอ่ื ประกอบรา่ งพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู จากนนั้ จะไดส้ ง่ ไปยงั สภานติ บิ ญั ญตั ิ
แหง่ ชาติ เพอื่ พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ทงั้ 4 ฉบบั โดยใชเ้ วลาทงั้ สนิ้ 8 เดอื น หรอื
240 วัน จากน้นั สภานติ บิ ัญญัติแหง่ ชาตจิ ะได้ทำ� การพิจารณารา่ งพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญอกี
6 ฉบบั จนครบ 10 ฉบบั เพอื่ จะเขา้ สกู่ ารเลอื กตง้ั ในชว่ ง พ.ศ. 2562 อนั เปน็ ระยะเวลาทรี่ ฐั ธรรมนญู บญั ญตั ิ
ไว้วา่ ใหจ้ ัดการเลือกตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรขึ้นภายใน 150 วนั นับแตว่ นั ที่พระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนญู ทง้ั 4 ฉบบั มผี ลบังคบั ใช้
แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จะได้รับการขนานนามว่าเป็น
“รัฐธรรมนูญฉบับปราบโกง” แต่รัฐธรรมนูญฉบับนี้ก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องความพยายามเพ่ิมอ�ำนาจ
ของ “รัฐราชการ” ให้เขา้ มาควบคุม “รฐั บาลทมี่ าจากการเลอื กต้งั ของประชาชน” และยังคงรบั รองอำ� นาจ
ของ คสช. ผา่ นรฐั ธรรมนญู ในบทเฉพาะกาลมาตรา 265 วา่ ให้ คสช. อยใู่ นตำ� แหนง่ ตอ่ ไปจนกวา่ จะมคี ณะ
รฐั มนตรชี ดุ ใหมเ่ ขา้ มาบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ โดยระหวา่ งน้ี หวั หนา้ คสช. ยงั คงมอี ำ� นาจตามรฐั ธรรมนญู
แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 44 เท่ากับว่าการเลือกต้ังและจัดต้ัง
รัฐบาลใหม่จะด�ำเนินไปโดยยังมีอ�ำนาจพิเศษน้ีครอบง�ำอยู่ นอกจากน้ี บรรดาประกาศและค�ำสั่ง คสช.
รวมไปถงึ คำ� ส่งั หัวหนา้ คสช. (มาตรา 44) ทเ่ี คยประกาศใช้ก็จะยงั มีผลตอ่ ไป
นอกจากนี้ ในบทเฉพาะกาลของรฐั ธรรมนญู ยงั กำ� หนดใหส้ มาชกิ วฒุ สิ ภา (ส.ว.) ในวาระเรม่ิ แรก
ทง้ั หมด 250 คน ซง่ึ มาจากการคดั เลอื กของ คสช. เกอื บทงั้ หมด และมี ส.ว.โดยตำ� แหนง่ ทเี่ ปน็ ผบู้ ญั ชาการ
เหล่าทัพต่างๆ 6 คน ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก
ผบู้ ัญชาการทหารเรอื ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บญั ชาการตำ� รวจแหง่ ชาติ โดย ส.ว. ชดุ นจ้ี ะมีวาระ
ดำ� รงตำ� แหนง่ 5 ปี มีอำ� นาจรว่ มลงคะแนนกับสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร (ส.ส.) เพ่ือเลือกนายกรัฐมนตรี
โดยตอ้ งใชค้ ะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกวา่ กง่ึ หนง่ึ ของสมาชกิ สองสภาจำ� นวน 750 คนรวมกนั หรอื 376 เสยี งขนึ้ ไป
และมอี ำ� นาจกำ� กบั ดแู ลใหร้ ฐั บาลชดุ ใหมต่ อ้ งทำ� ตามยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนปฏริ ปู ประเทศท่ี คสช. จดั ทำ� ขน้ึ
กตกิ าในการเลอื กนายกรฐั มนตรดี งั กลา่ ว ยงั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ปรากฎการณ์ “นายกฯ คนนอก” หรอื
นายกรัฐมนตรที ่มี ิไดม้ ีท่มี าจากบัญชรี ายชอ่ื ผสู้ มควรด�ำรงต�ำแหน่ง 3 รายชือ่ ท่พี รรคการเมอื งไดเ้ สนอไว้
ตอ่ คณะกรรมการการเลอื กตงั้ หรอื กกต. เพราะรฐั ธรรมนญู กำ� หนดกรณยี กเวน้ ไวว้ า่ ส.ส. ไมน่ อ้ ยกวา่ กง่ึ หนงึ่
ของสภาผแู้ ทนราษฎร หรอื 250 คน เขา้ ชอื่ เสนอตอ่ ประธานรฐั สภา และรฐั สภาซง่ึ ประกอบดว้ ย ส.ส. และ
ส.ว.ทง้ั หมด ลงมตดิ ว้ ยคะแนนเสียง 2 ใน 3 หรอื 500 คนจาก 750 คน ใหม้ นี ายกรัฐมนตรนี อกเหนือจาก
รายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ได้ และ ส.ส. เข้าชื่อกัน 1 ใน 10 หรือ 50 คนเสนอชื่อบุคคลใดก็ได้เป็น