Page 26 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 26
15-16 ประวัติศาสตรก์ ารเมืองและเศรษฐกจิ ไทย
ท่ีส�ำคญั คอื ทุกภาคสว่ นตอ้ งท�ำงานรว่ มกนั ให้ไดต้ อ้ งมองถงึ ผลประโยชนส์ ่วนรวม และคิดวา่ ประเทศชาติ
จะต้องไดอ้ ะไร
การขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรป์ ระชารฐั แบบบรู ณาการแบง่ เปน็ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ 1) ระดบั นโยบาย โดย
มีคณะรัฐมนตรีให้นโยบายในการขับเคล่ือน 2) ระดับการขับเคลื่อน โดยมีกระทรวง และคณะกรรมการ
ขบั เคลอ่ื นและปฏิรูปการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ เปน็ กลไกหลักในการขบั เคลอื่ น 3) ระดบั ปฏบิ ัติการ แบง่
เป็น 3 กล่มุ คือ ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน16
การด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ “ประชารฐั ” แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ยุทธศาสตรย์ ่อย คือ
1) “รัฐบาล” กบั “ประชาชน” : โดย “รฐั ” หรอื รัฐบาล จะเปน็ ผ้อู �ำนวยความสะดวก สนบั สนุน
และเปิดช่องทางให้ “ประชา” หรือภาคเอกชนและประชาชนท่ัวไป เข้ามามีส่วนร่วมตามกระบวนการ
ประชาธปิ ไตย เพอ่ื ให้ประชาชนเขา้ ใจการบรหิ ารงานของรฐั บาลในเรอ่ื งตา่ งๆ และไมส่ รา้ งความขดั แยง้ ให้
เกิดขึ้นระหว่างประชาชนกับรฐั บาล และ
2) “ประชาชน” กับ “เจ้าหน้าท่ีรัฐ” คือ การท�ำงานร่วมกันของประชาชนและเจ้าหน้าท่ีรัฐเพ่ือ
การพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยการสร้าง “เครือข่ายประชารัฐ” ในทุกด้าน ซ่ึงจะเป็นกลไกสำ� คัญท่ีเชื่อมโยง
และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเข้าด้วยกัน อันเป็นแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินของ
รัฐบาลปัจจุบัน เพ่ือให้การบริหารจัดการงบประมาณของรัฐมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่า และเกิด
ประโยชนส์ งู สุด ทงั้ ตอ่ การพฒั นาประเทศ การพฒั นาชมุ ชน และการพฒั นาสิทธแิ ละสวัสดกิ ารของรฐั เพอื่
ยกระดบั คุณภาพชวี ิตประชาชน ไมใ่ ห้เกิดปญั หาความเหล่อื มลำ�้ ในสังคมเช่นทผ่ี า่ นมา
สำ� หรบั หวั ใจสำ� คญั ของยทุ ธศาสตรป์ ระชารฐั คอื การเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนทกุ คน
เนอื่ งจากการแก้ปัญหา การปฏริ ปู และการพัฒนาประเทศในทุกๆ ดา้ น จะสำ� เร็จหรอื เห็นผลเปน็ รปู ธรรม
ไมไ่ ด้เลย หากขาดซง่ึ ความรว่ มมือรว่ มใจและการมีส่วนร่วมระหว่างประชาชน เจา้ หนา้ ทร่ี ัฐ และรัฐบาล
ประชาชนทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ “ประชารัฐ” ได้ง่ายๆ
โดยเรม่ิ ไดท้ ตี่ วั เอง เชน่ 1) การตดิ ตามทำ� ความเขา้ ใจในนโยบายและแนวทางการแกป้ ญั หาของรฐั บาลและ
หนว่ ยงานของรฐั 2) การเข้ามีสว่ นร่วมในการเสนอความคิดเห็นหรอื ใหข้ อ้ เสนอแนะท่ีสรา้ งสรรคแ์ ละเปน็
ประโยชนต์ อ่ การแกป้ ญั หาในดา้ นตา่ งๆ ผา่ นเวทหี รอื ชอ่ งทางทถ่ี กู ตอ้ ง เหมาะสม ซง่ึ รฐั บาลและหนว่ ยงาน
ตา่ งๆ ไดเ้ ปดิ ไวจ้ �ำนวนมาก 3) การเคารพและปฏิบตั ติ นตามกฎหมายเพื่อความสงบเรยี บร้อยของชุมชน
และสงั คมสว่ นรวม 4) การเรยี นรสู้ ทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องตนในฐานะพลเมอื ง และการเคารพสทิ ธขิ องผอู้ น่ื อยา่ ง
เทา่ เทยี ม 5) การมจี ติ สาธารณะในการชว่ ยเหลอื และเออ้ื เฟอ้ื ตอ่ ผอู้ นื่ ทด่ี อ้ ยโอกาส ตอ่ ชมุ ชน ตอ่ สงั คม และ
ประเทศชาต1ิ 7
โครงการ “ประชารฐั ” เกดิ ขน้ึ จากนโยบายของรฐั บาลเพอื่ ใชใ้ หเ้ ปน็ การขบั เคลอื่ นการพฒั นาตงั้ แต่
จากระดับท้องถิ่นข้ึนมา โดยมุ่งเน้นให้มีความร่วมมือกันระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและ
16 ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร, สานพลังประชารัฐ (กรุงเทพฯ: สำ� นกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร, 2561),
16-21.
17 “โครงการประชารฐั คอื อะไร,” iDEAs Model, สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 23 ธนั วาคม 2561. https://www.ideasmodel.com/
gov-project/โครงการประชารัฐคืออะไร.html