Page 22 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 22
15-12 ประวัตศิ าสตร์การเมอื งและเศรษฐกิจไทย
นายกรัฐมนตรี และให้รฐั สภาลงมตเิ หน็ ชอบด้วยคะแนนเสียงมากกว่าก่งึ หน่ึง หรือ 251 คน ซึง่ ทง้ั หมดน้ี
คอื ที่มาหรือข้ันตอนของการเปิดทางไปสู่ “นายกฯ คนนอก” นั่นเอง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ยังเปลี่ยนแปลงระบบเลือกตั้งเป็นแบบ
“ระบบจดั สรรปนั ส่วนผสม” โดยมลี ักษณะเดน่ อยูท่ ี่ “บตั รเลอื กตั้งมเี พยี งใบเดียว” แมค้ ณะกรรมการรา่ ง
รฐั ธรรมนญู พยายามชช้ี วนวา่ ระบบเลอื กตงั้ แบบนจ้ี ะทำ� ให้ “ทกุ เสยี งมคี วามหมาย” คะแนนจากการเลอื กตงั้
ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั สำ� หรบั ผูแ้ พจ้ ะไม่สญู เปล่า แต่จะถูกนำ� มาคำ� นวณเปน็ ทีน่ งั่ ของ ส.ส. แบบบัญชี
รายชอื่ (ปารต์ ลี้ สิ ต)์ แทน หรอื หมายความวา่ กาครงั้ เดยี วเทา่ กบั เลอื กทงั้ คนทงั้ พรรค แตป่ ระเดน็ ดงั กลา่ ว
เป็นท่ีวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากว่า เป็นระบบเลือกต้ังที่ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของประชาชน เพราะ
คะแนนเสยี งอาจถกู บดิ เบอื นไปเลอื กคนหรอื พรรคทไี่ มช่ อบโดยปรยิ าย พรรคการเมอื งจะแขง่ ขนั ทตี่ วั บคุ คล
มากกว่านโยบาย รวมท้ังเป็นระบบท่ีท�ำให้พรรคขนาดกลางมีอ�ำนาจต่อรองสูงข้ึนและมีโอกาสเกิดรัฐบาล
ผสมท่ีขาดเสถียรภาพทางการเมือง ขาดความชอบธรรมทางการเมือง และขาดประสิทธิภาพประสิทธิผล
ทางการเมอื ง อกี ทง้ั ตดั โอกาสการเกดิ ขนึ้ ของพรรคการเมอื งขนาดเลก็ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถสง่ ผสู้ มคั รแบบ
แบ่งเขตได้ครบทกุ เขต เพราะขอ้ จำ� กดั ในเร่ืองการบรหิ ารจัดการ เงินทนุ และบคุ ลากรทางการเมอื ง
การเพ่ิมอ�ำนาจให้กับองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญเพ่ือควบคุมรัฐสภาและรัฐบาลที่มาจากการ
เลือกต้ัง โดยมีการก�ำหนดให้องค์กรอิสระสามารถย่ืนเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยได้ว่า รัฐมนตรีคนใด
ขาดคณุ สมบัติ เชน่ ไม่มี “ความซอื่ สตั ย์สุจริต” เป็นทีป่ ระจักษ์ หรอื ฝา่ ฝนื หรอื ไม่ปฏบิ ตั ติ าม “มาตรฐาน
ทางจรยิ ธรรม” ทอี่ งค์กรอสิ ระและศาลรัฐธรรมนูญยกรา่ งขึ้น นอกจากนี้ ยงั มีกลไกควบคุมอนื่ ๆ เช่น ให้
ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินควบคุมการใช้จ่ายของรัฐบาลให้เป็นไปตาม “กฎหมายว่าด้วยวินัยทางการเงิน
การคลัง” ซ่งึ รฐั บาล คสช. และสภานติ บิ ญั ญตั ิแหง่ ชาตยิ กรา่ งข้นึ
รัฐธรรมนูญฉบบั น้ียังแกไ้ ขได้ยากอกี ด้วย เพราะต้องมี ส.ว. เหน็ ชอบ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 3 ทั้งใน
วาระแรกและวาระที่สาม นอกจากนี้ ต้องมี ส.ส. จากพรรคฝา่ ยคา้ น ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร หรือรอง
ประธานผ้แู ทนราษฎร เหน็ ชอบด้วยไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 20 ของ ส.ส. พรรคฝา่ ยคา้ นทกุ พรรคอีกดว้ ย และ
บทบญั ญตั บิ างหมวดหากจะแก้ไขก็ต้องผ่านการออกเสยี งประชามติกอ่ นดว้ ย
นอกจากรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 แลว้ ประเดน็ ทางการเมอื งในสมยั
รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่มีการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางยังมีประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
และการปฏริ ปู ประเทศ ซง่ึ ไดร้ บั การวพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งกวา้ งขวางวา่ จะเปน็ การวางแนวทางเพอื่ ให้ คสช.
รัฐราชการทั้งทหารและพลเรือน รวมทั้งพลังของฝ่ายอนุรักษ์นิยม สามารถควบคุมก�ำกับนักการเมืองท่ี
มาจากการเลือกตั้งได้ต่อไปหลังจากการเลือกตั้ง หรือเป็นการเปล่ียนรูปโฉมของ คสช. ให้มีอ�ำนาจเชิง
โครงสร้างต่อไป สอดรับกับการท่ีมีพรรคการเมืองจ�ำนวนหนึ่งได้มีแนวทางสนับสนุนนโยบายของ คสช.
และสนบั สนนุ พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา ใหก้ ลบั มาด�ำรงตำ� แหนง่ อกี วาระหน่ึงหลงั การเลอื กต้งั เพ่ือสาน
ต่อนโยบายและงานตา่ งๆ ท่ียงั ไมเ่ สร็จสิ้น
อย่างไรก็ตาม ในสมัยรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้มีการเคล่ือนไหวคัดค้านจาก
พรรคการเมอื ง นกั การเมอื ง นกั กจิ กรรมเคลอื่ นไหว ขบวนการเคลอ่ื นไหวทางสงั คม องคก์ รพฒั นาเอกชน
นักวชิ าการ สื่อมวลชน เป็นระยะนบั ตงั้ แตเ่ ข้าสอู่ �ำนาจเปน็ ต้นมา ท้งั ในประเด็นทางการเมืองโดยตรง เชน่