Page 41 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 41
การเมืองและเศรษฐกิจในสมัยรฐั บาลพลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา 15-31
สอดคลอ้ งกบั ทนี่ วลนอ้ ย ตรรี ตั น์ ไดใ้ หค้ วามเหน็ วา่ เศรษฐกจิ ไทยในมอื คสช. ยงั เปน็ ไปอยา่ งชา้ อดื
และยงั มสี ภาพ “ลกู ผลี กู คน” ไมม่ แี นวทางชดั เจนมากนกั ในชว่ งระยะทผ่ี า่ นมาของการเขา้ มาดำ� รงตำ� แหนง่
เศรษฐกิจไทยถือว่ายังโตขึ้น แต่โตขึ้นเพียงปีละร้อยละ 2-3 ถือว่าเป็นตัวเลขที่น้อยมากเพราะศักยภาพ
ของประเทศสามารถโตไดม้ ากกวา่ น้ี กระนน้ั กม็ กี ารเปลยี่ นแปลงทง้ั จากกระแสเศรษฐกจิ โลก รวมถงึ ผลงาน
ตา่ งๆ ของรฐั ดว้ ย “ยกตวั อยา่ งเชน่ เทคโนโลยที เี่ รมิ่ เขา้ มาอยา่ งทกุ วนั นรี้ า้ นคา้ ปลกี เรมิ่ อยไู่ มไ่ ดแ้ ลว้ คนเดนิ หา้ ง
ไม่จับจา่ ยซ้ือของไปแค่นง่ั กินขา้ ว หนั ไปซ้ือออนไลน์แทน” รวมถงึ การมีผลติ ภณั ฑใ์ นรูปแบบระบบดจิ ิทัล
เช่น การจอง การซอ้ื ต๋วั ผ่านทางออนไลน์ ทก่ี �ำลังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นไดช้ ดั ท�ำใหร้ ฐั บาลปัจจบุ ัน
ต้องเร่งปรับตัวให้ทันกับยุค 4.0 หนึ่งในการลงทุนขนาดใหญ่ท่ีรัฐบาลต้ังใจคือโครงการระเบียงเศรษฐกิจ
พเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) ซงึ่ ขณะนกี้ ำ� ลงั มกี ารลงทนุ โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นตา่ งๆ อยา่ งไรกด็ ี นวลนอ้ ย
ช้ีว่าการลงทุนขนาดใหญ่ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ต้องอาศัยเวลาขับเคลื่อน ไม่เห็นผลในช่วง 4 ปี
ทผ่ี า่ นมา
นวลน้อย ช้ีวา่ รัฐบาลท�ำเองทกุ อยา่ งไมไ่ ด้ แต่มีหน้าทีห่ ลกั ๆ คือการจดั ท�ำโครงสร้างพ้ืนฐานให้ดี
และออกกฎหมายให้มีระเบียบกติกา กฎเกณฑ์ชัดเจน แต่หน้าท่ีการขับเคล่ือนธุรกิจคือหน้าท่ีของธุรกิจ
ขนาดต่างๆ ในท้องตลาด โดยเฉพาะธรุ กจิ ขนาดเลก็ และขนาดกลางท่ถี อื ว่าเป็นคนสว่ นใหญ่ของประเทศ
“ในฐานะท่ีรัฐบาลตอ้ งเป็น คนออกกฎระเบยี บ (regulator) ต้องบอกวา่ รัฐบาล คสช. ยงั ท�ำหน้าทนี่ ไ้ี ม่ดี
เท่าที่ควร เอื้อแต่ทุนใหญ่ ไม่เกิดการแข่งขัน พอเป็นแบบน้ีเงินจะไม่กระจายไปสู่คนข้างล่าง เศรษฐกิจ
ก็ไม่ไปด้วยกัน” มิหน�ำซ้�ำยังออกกฎหมายและนโยบายเอ้ือแต่ทุนใหญ่อีกด้วย นวลน้อย ยังช้ีให้เห็นว่า
การขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานในส่วนของระบบฐานข้อมูล ท้ังสถิติ ข้อมูลประชาชนที่เอ้ือต่อการจัดท�ำ
นโยบายสวัสดิการสังคม ก็ท�ำให้การพัฒนาอีกหลายๆ ด้านไปไม่ถึงไหน แม้จะมีการพูดถึงระบบบัตร
ประชาชนแบบใหมท่ ส่ี ามารถดงึ ขอ้ มลู มาจากระบบฐานขอ้ มลู กลางมาใชไ้ ด้ แตท่ กุ วนั นกี้ ย็ งั พฒั นาไดไ้ มเ่ ตม็
ศกั ยภาพ ทำ� ให้นโยบายอ่นื ๆ ทเี่ ช่อื มโยงกับตรงนไ้ี ม่กา้ วหน้าไปด้วย
ทผ่ี า่ นมารฐั บาล พล.อ.ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา ใชม้ าตรา 44 ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ในการออกกฎหมายเพ่ือการกระตุ้นเศรษฐกิจมานักต่อนัก ทั้งการ
กำ� หนดพนื้ ทเี่ ปน็ เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ จนถงึ กรณลี า่ สดุ การใชม้ าตรา 44 ชว่ ยทวี ดี จิ ทิ ลั ใหผ้ ปู้ ระกอบการ
สามารถพกั ช�ำระหนี้ตอ่ กสทช. ได้ ซง่ึ นวลน้อย เห็นว่า การใชม้ าตรา 44 เพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ ไม่สง่ ผล
เกดิ อะไรขนึ้ ในระยะยาวทง้ั สน้ิ ดว้ ยรปู แบบเศรษฐกจิ การเมอื งทยี่ งั คงมสี ภาพดงั ปจั จบุ นั รฐั บาลจะไมส่ ามารถ
ขับเคลือ่ นอะไรไดเ้ ลย23
โดยสรุปอาจกล่าวได้ว่า สภาพการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลพลเอกประยุทธ์
จันทร์โอชา ช่วง 2 ปแี รกยงั ค่อนข้างซบเซา ท้งั จากปญั หาภายในทม่ี คี วามขัดแย้งทางการเมืองติดตอ่ กัน
หลายปี และปัญหาเศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัว แม้ต่อมาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศจะ
เพม่ิ ขนึ้ แตส่ ว่ นใหญเ่ กดิ จากการอดั ฉดี ของภาครฐั เปน็ หลกั และสง่ ผลกระทบตอ่ หนสี้ าธารณะของประเทศ
23 “4 ปเี ศรษฐกจิ ไทยในมอื รฐั บาล คสช.,” จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , สบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2561. https://www.
chula.ac.th/cuinside/9264/