Page 45 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 45

การเมืองและเศรษฐกจิ ในสมยั รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา 15-35
อนาคตของประเทศ และทิศทางในการขับเคลื่อนประเทศให้สอดคล้องกับประเด็นการเปล่ียนแปลงและ
ความทา้ ทายตา่ งๆ ของบรบิ ทโลก และบรบิ ทการพฒั นาภายในประเทศ เพอื่ มงุ่ สกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายอนาคต
ของประเทศท่ีตั้งไว้ การก�ำหนดให้มี “ยุทธศาสตร์ชาติ” เพื่อเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศใน
ระยะยาว พรอ้ มกบั การปฏริ ปู และการพฒั นาระบบการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์
ใหส้ ามารถนำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งจรงิ จงั จะชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพของประเทศไทยในทกุ ภาคสว่ นและนำ� พา
ประเทศไทยให้หลุดพ้นจาก สภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบันทั้งปัญหาความมั่นคง ปัญหาทางเศรษฐกิจ
ปญั หาความเหลอ่ื มลำ้� ปญั หาการทจุ รติ และปญั หาความขดั แยง้ ในสงั คม รวมถงึ สามารถรบั มอื กบั ภยั คกุ คาม
และบริหารจดั การกบั ความเสยี่ งทีจ่ ะเกิดขึ้นในอนาคต24

       การปฏิรูปประเทศมีความส�ำคญั ต่อการก้าวขา้ มข้อจำ� กดั หรอื อุปสรรคในการพัฒนาประเทศ และ
ได้มีการก�ำหนดไว้ในกฎหมายหลายๆ ระดับ ต้ังแต่ระดับรัฐธรรมนูญ ระดับพระราชบัญญัติ รวมทั้ง
กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งอน่ื ๆ โดยรฐั บาลพลเอกประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา ไดต้ ้ังคณะกรรมการปฏิรูปประเทศตาม
ขอ้ กำ� หนดของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 หมวด 16 การปฏริ ปู ประเทศ มงุ่ หวงั
ทีจ่ ะให้เกิดการขบั เคลือ่ นประเทศให้พฒั นาไปข้างหนา้ ได้อยา่ งเป็นขน้ั ตอนจนเกดิ ความมั่นคง มงั่ คั่ง และ
ยง่ั ยนื ทง้ั ในทางการเมอื งการปกครอง เศรษฐกจิ และสงั คม ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์
เป็นประมขุ

       กลไกของ “การปฏริ ปู ประเทศ” เปน็ กลไกหนงึ่ ในการขบั เคลอื่ นการพฒั นาประเทศใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
ได้อย่างแท้จริงภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับน้ี โดยรัฐธรรมนูญได้ให้ความส�ำคัญและก�ำหนดแนวนโยบายแห่ง
รฐั ในการสง่ เสรมิ และจดั ใหม้ กี ลไกหรอื มาตรการเพอ่ื เปน็ เครอื่ งมอื การพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ ดงั ระบุ
ไวใ้ นหลายมาตรา ซงึ่ มาตราท่สี อดคลอ้ งกบั ประเดน็ การปฏริ ปู ประเทศ มดี งั น้ี

       มาตรา 62 รฐั ตอ้ งรกั ษาวนิ ยั ทางการเงนิ ของรฐั อยา่ งเครง่ ครดั เพอ่ื ใหฐ้ านะทางการเงนิ การคลงั ของ
รัฐต้องมีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างยั่งยืนตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ และจัดระบบ
ภาษใี หเ้ กดิ ความเปน็ ธรรมแก่สงั คม

       มาตรา 69 รฐั พงึ จดั ใหม้ แี ละสง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละศลิ ปวทิ ยาการ
แขนงต่างๆ ให้เกิดความรู้ การพัฒนา และนวัตกรรม เพ่ือความเข้มแข็งของสังคมและเสริมสร้างความ
สามารถของคนในชาติ

       มาตรา 73 รัฐพึงจัดให้มีมาตรการหรือกลไกที่ช่วยให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่าง
มปี ระสทิ ธภิ าพ ไดผ้ ลผลติ ทม่ี ปี รมิ าณและคณุ ภาพสงู มคี วามปลอดภยั โดยใชต้ น้ ทนุ ตำ�่ และสามารถแขง่ ขนั
ในตลาดได้ และพงึ ชว่ ยเหลอื เกษตรกรผู้ยากไรใ้ ห้มที ีท่ ำ� กินโดยการปฏิรูปท่ดี นิ หรอื วธิ อี ืน่ ใด

       มาตรา 74 รัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนมีความสามารถในการท�ำงานอย่างเหมาะสมกับศักยภาพ
และวยั และใหม้ งี านทำ� และพงึ คมุ้ ครองผใู้ ชแ้ รงงานใหไ้ ดร้ บั ความปลอดภยั และมสี ขุ อนามยั ทดี่ ใี นการทำ� งาน
ได้รับรายได้ สวสั ดกิ าร การประกนั สงั คม และสิทธิประโยชนอ์ นื่ ทเ่ี หมาะสมแกก่ ารดำ� รงชพี และพงึ จดั ให้
มีหรือส่งเสริมการออม เพื่อการด�ำรงชีพเม่ือพ้นวัยท�ำงาน รัฐพึงจัดให้มีระบบแรงงานสัมพันธ์ท่ีทุกฝ่ายที่
เก่ียวขอ้ งมีสว่ นรว่ มในการด�ำเนนิ การ

         24 สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร, สานพลงั ประชารัฐ, 10-13
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50