Page 50 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 50

15-40 ประวตั ศิ าสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
       5.	 ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม มเี ปา้ หมาย

การพัฒนาที่ส�ำคัญเพ่ือน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติ ท้ังด้านสังคม เศรษฐกิจ
สงิ่ แวดลอ้ ม ธรรมาภิบาล และความเปน็ หนุ้ ส่วนความรว่ มมอื ระหว่างกัน ท้งั ภายในและภายนอกประเทศ
อยา่ งบรู ณาการ ใชพ้ น้ื ทเ่ี ปน็ ตวั ตงั้ ในการกำ� หนดกลยทุ ธแ์ ละแผนงาน และการใหท้ กุ ฝา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ งไดเ้ ขา้ มา
มสี ว่ นรว่ มในแบบทางตรงใหม้ ากทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะเปน็ ไปได้ โดยเปน็ การดำ� เนนิ การบนพนื้ ฐานการเตบิ โตรว่ มกนั
ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ ม และคุณภาพชวี ิต โดยให้ความส�ำคัญกบั การสรา้ งสมดลุ ท้ัง 3 ด้าน
อนั จะนำ� ไปสคู่ วามยง่ั ยืนเพ่อื คนรนุ่ ต่อไปอย่างแท้จริง

       6.	 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มเี ปา้ หมาย
การพฒั นาทส่ี ำ� คญั เพอื่ ปรบั เปลยี่ นภาครฐั ทย่ี ดึ หลกั “ภาครฐั ของประชาชนเพอื่ ประชาชน และประโยชนส์ ว่ นรวม”
โดยภาครฐั ตอ้ งมขี นาดทเ่ี หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ แยกแยะบทบาท หนว่ ยงานของรฐั ทที่ ำ� หนา้ ทใ่ี นการ
ก�ำกับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับ
วฒั นธรรมการท�ำงานใหม้ งุ่ ผลสมั ฤทธิ์และผลประโยชนส์ ่วนรวม มีความทันสมัย และพรอ้ มที่จะปรับตัวให้
ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การนำ� นวตั กรรม เทคโนโลยขี อ้ มลู ขนาดใหญ่
ระบบการท�ำงานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล
รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือตอบสนอง
ความตอ้ งการของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ และโปรง่ ใส โดยทกุ ภาคสว่ นในสงั คมตอ้ งรว่ มกนั ปลกู ฝงั
ค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตส�ำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติ
มชิ อบอย่างส้ินเชงิ นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมคี วามชัดเจน มีเพยี งเท่าท่จี ำ� เป็น มีความทนั สมัย มคี วาม
เปน็ สากล มปี ระสทิ ธภิ าพ และน�ำไปสกู่ ารลดความเหลอื่ มลำ้� และเออื้ ตอ่ การพฒั นา โดยกระบวนการยตุ ธิ รรม
มกี ารบรหิ ารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ ธรรม ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ และการอำ� นวยความยตุ ธิ รรมตามหลกั นติ ธิ รรม26

       ส�ำหรับแผนปฏิรูปประเทศน้ันเกิดขึ้นโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
หมวด 16 การปฏริ ูปประเทศ กำ� หนดใหด้ ำ� เนินการปฏิรปู ประเทศอยา่ งนอ้ ยในด้านต่างๆ ให้เกิดผลตามท่ี
ก�ำหนดในกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ ซ่ึงวิธีการจัดท�ำแผนต้องให้
ประชาชนและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมีส่วนร่วม ต้องมีการวัดผลการด�ำเนินการ และระยะเวลาด�ำเนินการ
ปฏริ ปู ประเทศทกุ ดา้ น ซงึ่ ตอ่ มาไดม้ กี ารตราพระราชบญั ญตั แิ ผนและขนั้ ตอนการดำ� เนนิ การปฏริ ปู ประเทศ
พ.ศ. 2560 มผี ลใชบ้ งั คบั เมอ่ื วนั ท่ี 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2560 โดยกำ� หนดใหม้ กี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการปฏริ ปู
ประเทศดา้ นต่างๆ เพ่อื รับผิดชอบจดั ทำ� แผนการปฏริ ปู ประเทศแต่ละด้าน เพือ่ กำ� หนดกลไก วิธกี าร และ
ขั้นตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ และเม่ือได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และ
รายงานต่อรฐั สภาเพอ่ื ทราบแล้ว ให้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาและใชบ้ ังคบั ได้ตอ่ ไป

       เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ ำ� หนดในพระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตเิ มอื่ วนั ที่ 15 สงิ หาคม
พ.ศ. 2560 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการปฏริ ปู ประเทศดา้ นต่างๆ จ�ำนวน 11 คณะ ประกอบดว้ ย คณะกรรมการ

         26 ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 135 ตอนท่ี 82 ก วนั ที่ 13 ตลุ าคม พ.ศ.
2561
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55