Page 54 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 54

15-44 ประวตั ิศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
       จ�ำนวนกรรมการยุทธศาสตร์ท้ังหมด 35 คน พบว่า มาจากฝ่ายกองทัพและความม่ันคง 7 คน

กรรมการทจี่ ะไดร้ บั การแตง่ ตงั้ อกี 17 คนโดย คสช. ประธานวฒุ สิ ภาทกี่ ฎหมายก�ำหนดใหเ้ ปน็ รองประธาน
คณะกรรมการอกี 1 คน ซึ่งกม็ าจากการแตง่ ตัง้ ของ คสช. เนื่องจากรฐั ธรรมนญู 2560 กำ� หนดใหส้ มาชิก
วุฒิสภาชุดแรกมาจากการแต่งตั้งของหวั หนา้ คสช. ย่อมเท่ากับวา่ คณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าติ 25 คน
จาก 35 คน คือคนที่ คสช. วางเอาไว้ ก็เป็นไปได้ว่านายกรัฐมนตรีคนใหม่ท่ีมาจากการเลือกต้ังซึ่งต้อง
เปน็ ประธานคณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าตติ ามกฎหมาย แทบจะไมม่ อี ำ� นาจตอ่ รองใดๆ ในคณะกรรมการชดุ น้ี

       ไอลอว์ ยังมองวา่ ยทุ ธศาสตร์ชาติถูกบังคบั ใหต้ อ้ งจัดทำ� ตาม “พมิ พ์เขียว” ท่ีมีก่อนหน้าน้ี โดย
คณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติตามมติ ครม. พ.ศ. 2558 เป็นผู้จัดท�ำฉบับร่างซึ่งเขียนไว้ล่วงหน้า
กอ่ นรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (อนั เป็นฉบับท่ีเขียนระบุให้มียุทธศาสตรช์ าต)ิ
และรา่ งฉบับน้กี ็ไม่เปดิ เผยใหป้ ระชาชนได้รับรู้ จนกระทงั่ ไปย่นื เรือ่ งตอ่ คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปิดเผย
ขอ้ มูลขา่ วสาร

       ประชาชนไมไ่ ดม้ สี ว่ นรว่ มอยา่ งแทจ้ รงิ เพราะพระราชบญั ญตั กิ ารจดั ทำ� ยทุ ธศาสตรช์ าติ ในมาตรา
28 เขียนเปิดช่องเอาไว้ว่า การรับฟังความคิดเห็นในร่างพระราชบัญญัติการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ
ถือเป็นการแสดงความคิดเห็นในพระราชบัญญัติยุทธศาสตร์ชาติด้วย ท้ังนี้ร่างพระราชบัญญัติการจัดท�ำ
ยุทธศาสตร์ชาติ เม่ือเข้าสู่การพิจารณาของ สนช. มีการเปิดรับฟังความคิดจากประชาชนผ่านเว็บไซต์
www.thaigov.go.th ต้ังแต่วันที่ 20 เมษายน-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 มีประชาชนเข้าอ่านข้อมูล
จ�ำนวน 3,051 คร้งั และแสดงตนเพือ่ เสนอความเหน็ เพยี ง 8 คน สภานิตบิ ญั ญตั ิแหง่ ชาตมิ มี ตผิ ่านร่าง
พระราชบญั ญตั ิการจัดท�ำยทุ ธศาสตรช์ าติเม่อื 22 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2560

       นอกจากนี้ ยังมีข้อวิจารณ์อ่ืนอีก เช่น อภิชาต สถิตนิรามัย วิจารณ์ร่างยุทธศาสตร์ชาติเดิมใน
พ.ศ. 2558 ทเี่ ปน็ พมิ พเ์ ขยี วของยทุ ธศาสตรช์ าตปิ จั จบุ นั ในกรณกี ารพฒั นา EEC อนั เปน็ สว่ นหนง่ึ ในการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติในด้านการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ว่า นโยบาย
อตุ สาหกรรมของยทุ ธศาสตรช์ าตเิ น้นการลดภาษีกลมุ่ ทุน แตไ่ ม่มีมาตรการ “การบงั คับ” ให้ผู้ไดร้ ับสทิ ธิ
พเิ ศษถา่ ยทอดความสามารถทางเทคโนโลยใี หแ้ กไ่ ทย ซงึ่ เปน็ บทเรยี นสำ� คญั ทสี่ ดุ จากประเทศเอเชยี ตะวนั ออก
ท่ีข้ามพน้ กบั ดักรายไดป้ านกลาง

       สฤณี อาชวานนั ทกุล วิจารณเ์ ก่ยี วกับยทุ ธศาสตร์ชาติไวว้ า่ เนื้อหายทุ ธศาสตรช์ าตสิ รปุ สน้ั ๆ ได้
ว่า “พูดอีกก็ถกู อีก” เปน็ เป้าหมายทีพ่ ึงประสงคส์ �ำหรับสังคมไทย ปัญหาก็คอื เป้าหมายโลกสวย ‘มนั่ คง
มั่งคั่ง ย่ังยืน’ นั้น เมื่อแยกส่วนออกมาดูแล้วอาจจะขัดแย้งกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับการก�ำหนดนิยาม และ
ยทุ ธศาสตร์ทจี่ ะไปใหถ้ ึงเป้าหมาย สฤณี ตั้งขอ้ สังเกตว่า ยุทธศาสตร์ฉบบั น้ีมลี กั ษณะเด่น 3 ประการ คือ
1) นยิ าม “ความมนั่ คง” ทกี่ วา้ งขวางอยา่ งยงิ่ ไมม่ เี นอื้ หาใดๆ ในยทุ ธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง ทพี่ ดู ถงึ การ
แกป้ ญั หาและพฒั นากองทพั โดยเฉพาะการยกระดบั ‘ความโปรง่ ใส’ (transparency) 2) เปา้ หมาย ‘มงั่ คงั่ ’
ในแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ไมไ่ ดพ้ ดู ถงึ การสรา้ งและคมุ้ ครอง ‘สนามแขง่ ขนั ทเี่ ทา่ เทยี ม’ (level playing field)
ทจ่ี ะชว่ ยลดความเหลอื่ มลำ�้ 3) เปา้ หมาย ‘ยงั่ ยนื ’ พดู ถงึ “การกระจายอ�ำนาจไปสทู่ อ้ งถนิ่ ระบบธรรมาภบิ าล
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59