Page 52 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 52
15-42 ประวตั ศิ าสตรก์ ารเมืองและเศรษฐกิจไทย
6. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มไดร้ บั การรกั ษา
ฟื้นฟูให้สมบูรณ์และย่ังยืน เป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศอย่างสมดุลท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม และ
สง่ิ แวดลอ้ ม มกี ารใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มและสงั คม เกดิ ความสมดลุ ระหวา่ งการคมุ้ ครอง
รักษาและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน รวมท้ังมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพบน
พื้นฐานการมสี ่วนรว่ มของภาคส่วนต่างๆ
7. ด้านสาธารณสุข ประชาชนทกุ ภาคสว่ นมีความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ มีส่วนรว่ มในการวางระบบ
ในการดูแลสุขภาพ ได้รับโอกาสท่ีเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จ�ำเป็น และอยู่ในสภาพ
แวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาวะ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ระบบสาธารณสุขที่เป็น
เอกภาพและการอภบิ าลระบบทีด่ ี
8. ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ มงุ่ เนน้ การสรา้ งดลุ ยภาพระหวา่ งเสรภี าพของการ
ทำ� หนา้ ทข่ี องสอ่ื บนความรบั ผดิ ชอบกบั การกำ� กบั ทม่ี คี วามชอบธรรม และการใชพ้ น้ื ทด่ี จิ ทิ ลั เพอื่ การสอื่ สาร
อยา่ งมจี รรยาบรรณ ดำ� รงรกั ษาเสรภี าพของการแสดงออก การรบั รขู้ องประชาชน ดว้ ยความเชอื่ วา่ เสรภี าพ
ของการสือ่ สารคอื เสรีภาพของประชาชน ตามแนวทางของประชาธปิ ไตย และการใหส้ ือ่ เปน็ โรงเรยี นของ
สงั คม ในการให้ความรู้แก่ประชาชน ปลูกฝังวัฒนธรรมของชาติ และปลูกฝงั ทศั นคตทิ ี่ดี
9. ด้านสังคม ใหค้ นไทยมีหลกั ประกนั ทางรายไดใ้ นวัยเกษียณท่ีเพียงพอต่อการด�ำรงชวี ิตอย่าง
มีคุณภาพและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่การมีจิตสาธารณะเพิ่มขึ้น สังคมไทยเป็นสังคมแห่งโอกาส
และไม่แบ่งแยก ภาครัฐมีข้อมูลและสารสนเทศด้านสังคมที่บูรณาการทุกหน่วยงานและเปิดโอกาสให้
ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ และใหช้ ุมชนท้องถ่ินมคี วามเข้มแข็ง โดยสามารถบรหิ ารจัดการชมุ ชนได้ดว้ ย
ตนเอง
10. ด้านพลังงาน ปรบั ปรงุ การบรหิ ารจดั การพลงั งานสรา้ งแผนจดั หาทไี่ ดร้ บั การยอมรบั สง่ เสรมิ
พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และก�ำหนดทิศทางการพัฒนาและการลงทุนเทคโนโลยีใหม่ของ
ประเทศ ตลอดจนเพอ่ื ใหก้ ารบรหิ ารจัดการด้านพลงั งานมีธรรมาภิบาล มีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานตาม
แผนการจดั หาทป่ี รบั ปรงุ ใหม่ กระตนุ้ การลงทนุ ดา้ นพลงั งานและเพม่ิ ขดี ความสามารถของประเทศไดอ้ ยา่ ง
มีนยั สำ� คัญ
11. ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประชาชนมคี วามรเู้ กย่ี วกบั การทจุ รติ มมี าตรการ
ควบคมุ การบรหิ ารจดั การของหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน และยกระดบั การบงั คบั ใชม้ าตรการทางวนิ ยั และ
กฎหมายตอ่ เจา้ พนกั งานของรัฐ27
โดยสรุปจะเห็นว่า ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีและแผนการปฏิรูปประเทศจะเป็นส่วนส�ำคัญต่อการ
พัฒนาประเทศไทยให้สามารถยกระดับการพัฒนาบรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง
ยง่ั ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ไดด้ ว้ ยการกำ� หนด
ยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศและการปฏิรปู ทีช่ ดั เจนในระยะยาว
27 “ส�ำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี, พร้อมแล้ว ! แผนการปฏิรูปประเทศท้ัง 11 ด้าน,” ส�ำนักงานบริหาร
นโยบายของนายกรัฐมนตรี, สืบค้นเมือ่ วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2561. https://pmdu.soc.go.th/national-reform/3874