Page 51 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 51

การเมืองและเศรษฐกจิ ในสมยั รฐั บาลพลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา 15-41
ปฏริ ูปประเทศดา้ นการเมอื ง คณะกรรมการปฏิรปู ประเทศด้านการบริหารราชการแผน่ ดิน คณะกรรมการ
ปฏริ ปู ประเทศดา้ นกฎหมาย คณะกรรมการปฏริ ปู ประเทศดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรม คณะกรรมการปฏริ ปู
ประเทศดา้ นเศรษฐกจิ คณะกรรมการปฏริ ปู ประเทศดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม คณะกรรมการ
ปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะกรรมการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสงั คม คณะกรรมการปฏริ ปู ประเทศดา้ นพลงั งาน และคณะกรรมการปฏริ ปู
ประเทศดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ เพอ่ื รบั ผดิ ชอบในการดำ� เนนิ การจดั
ท�ำรา่ งแผนการปฏริ ูปประเทศใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกำ� หนด ตลอดจนได้จัดให้มี
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องอย่างกว้างขวาง เพ่ือประกอบการ
พิจารณาจัดท�ำร่างแผนการปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ ด้วยแล้ว แผนปฏิรูปประเทศประกอบด้วย 11 ด้าน
ดังนี้

       1.	 ด้านการเมือง การธ�ำรงไว้ซ่ึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุขที่มีความมั่นคง มีความชอบธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่
ประเทศชาติ บ้านเมืองและประชาชน สร้างการมีส่วนร่วม รู้จักยอมรับความเห็นท่ีแตกต่างกัน
พรรคการเมืองด�ำเนินกิจกรรมโดยเปิดเผยและตรวจสอบได้และพัฒนาเป็นสถาบันทางการเมืองของ
ประชาชน ผ้ดู ำ� รงตำ� แหน่งทางการเมอื งปฏิบตั หิ น้าทดี่ ้วยความซื่อสตั ยส์ จุ ริต และรับผดิ ชอบตอ่ ประชาชน
ในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ของตน และสร้างให้เกดิ การแกไ้ ขปัญหาความขัดแย้งทางการเมอื งโดยสนั ติวธิ ี

       2.	 ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มุ่งสร้าง “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน” บนหลัก
ธรรมาภิบาลเพอื่ ให้ภาครฐั ได้รบั ความเชื่อถอื ไว้วางใจจากประชาชน (public trust)

       3.	 ด้านกฎหมาย กฎหมายเป็นเครื่องมือสนับสนุนการเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศใหท้ นั ต่อการพัฒนาตามกระแสโลกาภวิ ตั น์ เปน็ ธรรม และขจัดความเหลอื่ มลำ�้ ในสังคม

       4.	 ด้านกระบวนการยุติธรรม กระบวนการยุติธรรมเป็นภารกิจส�ำคัญท่ีต้องด�ำเนินการเพื่อวาง
รากฐานระบบสงั คมการเมอื งของประเทศเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนและสรา้ งกระบวนการ
ยตุ ธิ รรมทปี่ ระชาชนเชอื่ มนั่ และเกดิ ความรสู้ กึ วา่ เปน็ เจา้ ของกระบวนการยตุ ธิ รรมอยา่ งแทจ้ รงิ ดว้ ยการได้
รบั ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเทา่ เทยี มและไมม่ คี วามเหลอ่ื มลำ�้ ในการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย การสรา้ งระบบการสอบสวนและ
งานนติ วิ ทิ ยาศาสตรท์ ปี่ ระชาชนเชอื่ มน่ั ในความรวดเรว็ และถกู ตอ้ ง ขจดั วฒั นธรรมองคก์ รทเ่ี ปน็ อปุ สรรคตอ่
การอำ� นวยความยตุ ธิ รรมโดยนำ� เทคโนโลยมี าใชแ้ ละระบบการลงโทษกบั การดแู ลสอดสอ่ งผพู้ น้ โทษทที่ ำ� ให้
สงั คม เกดิ ความปลอดภยั อยา่ งยง่ั ยนื ตลอดจนการมกี ระบวนการยตุ ธิ รรมมปี ระสทิ ธภิ าพเออ้ื ตอ่ การแขง่ ขนั
ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ

       5.	 ด้านเศรษฐกิจ ยกระดบั ผลิตภาพ (higher productivity) และความสามารถในการแข่งขนั
ในระดบั ประเทศใหส้ งู ขน้ึ (more competitive) มกี ารเตบิ โตอยา่ งครอบคลมุ ทกุ ภาคสว่ นอยา่ งยงั่ ยนื (more
inclusive) มุ่งเน้นการใช้ระบบมาตรฐานและนวัตกรรมในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ (more
sustainable) ลดความเหลอื่ มลำ้� ทางเศรษฐกจิ ของประชาชนกลมุ่ ตา่ งๆ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ มสี มรรถนะ
สงู ข้นึ (high performance economic institution)
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56