Page 49 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 49

การเมอื งและเศรษฐกจิ ในสมัยรฐั บาลพลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา 15-39
เทคโนโลยี และระบบฐานขอ้ มลู ขนาดใหญใ่ หม้ คี วามพรอ้ มสามารถรบั มอื กบั ภยั คกุ คาม และภยั พบิ ตั ไิ ดท้ กุ
รปู แบบ และทกุ ระดบั ความรนุ แรง ควบคไู่ ปกบั การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาดา้ นความมนั่ คงทมี่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั
และท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน
ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพ่ือนบ้าน และมิตรประเทศท่ัวโลกบนพ้ืนฐานของ
หลกั ธรรมาภบิ าล เพอื่ เออ้ื อำ� นวยประโยชนต์ อ่ การดำ� เนนิ การของยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นอนื่ ๆ ใหส้ ามารถขบั เคลอื่ น
ไปได้ตามทิศทางและเป้าหมายท่ีกำ� หนด

       2.	 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีมุ่งเน้น
การยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพน้ื ฐานแนวคดิ 3 ประการ ไดแ้ ก่ (1) “ตอ่ ยอดอดตี ”
โดยมองกลบั ไปทร่ี ากเหงา้ ทางเศรษฐกจิ อตั ลกั ษณ์ วฒั นธรรม ประเพณี วถิ ชี วี ติ และจดุ เดน่ ทางทรพั ยากร
ธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ ในด้านอ่ืนๆ น�ำมาประยุกต์
ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่
(2) “ปรบั ปจั จบุ นั ” เพอ่ื ปทู างสอู่ นาคต ผา่ นการพฒั นาโครงสรา้ ง พน้ื ฐานของประเทศในมติ ติ า่ งๆ ทงั้ โครงขา่ ย
ระบบคมนาคมและขนสง่ โครงสรา้ งพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดจิ ทิ ลั และการปรบั สภาพแวดลอ้ ม
ให้เอื้อตอ่ การพัฒนาอตุ สาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สรา้ งคณุ ค่าใหมใ่ นอนาคต” ด้วยการเพิม่
ศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการ พฒั นาคนรุ่นใหม่ รวมถงึ ปรบั รูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ
ของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับ อนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน
พรอ้ มทงั้ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จากภาครฐั ใหป้ ระเทศไทยสามารถสรา้ งฐานรายไดแ้ ละการจา้ งงานใหม่
ขยายโอกาสทางการคา้ และการลงทนุ ในเวทโี ลก ควบคไู่ ปกบั การยกระดบั รายไดแ้ ละการกนิ ดอี ยดู่ ี รวมถงึ
การเพ่มิ ขึ้นของคนชั้นกลาง และลดความเหล่ือมล�้ำของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกนั

       3.	 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มเี ปา้ หมาย การ
พฒั นาทสี่ ำ� คญั เพอื่ พฒั นาคนในทกุ มติ แิ ละในทกุ ชว่ งวยั ใหเ้ ปน็ คนดี เกง่ และมคี ณุ ภาพ โดยคนไทย มคี วาม
พรอ้ มทงั้ กาย ใจ สตปิ ญั ญา มพี ฒั นาการทดี่ รี อบดา้ นและมสี ขุ ภาวะทดี่ ใี นทกุ ชว่ งวยั มจี ติ สาธารณะ รบั ผดิ
ชอบตอ่ สงั คมและผอู้ นื่ มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ยั รกั ษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมอื งดขี องชาติ มี
หลกั คดิ ที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจ�ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม และ
อนุรักษ์ภาษาทอ้ งถน่ิ มนี สิ ยั รกั การเรยี นรแู้ ละการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ติ สกู่ ารเปน็ คนไทยทม่ี ี
ทกั ษะสงู เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัด
ของตนเอง

       4.	 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มเี ปา้ หมายการพฒั นาที่
ให้ความสำ� คัญกบั การดึงเอาพลงั ของภาคส่วนตา่ งๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชน ท้องถน่ิ มาร่วม
ขบั เคลอ่ื น โดยการสนบั สนนุ การรวมตวั ของประชาชนในการรว่ มคดิ รว่ มทำ� เพอื่ สว่ นรวม การกระจายอำ� นาจ
และความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถ่ิน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ชมุ ชนในการจดั การตนเอง และการเตรยี มความพรอ้ มของประชากรไทย ทงั้ ในมติ สิ ขุ ภาพ เศรษฐกจิ สงั คม
และสภาพแวดล้อมใหเ้ ป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพึง่ ตนเอง และทำ� ประโยชนแ์ ก่ครอบครัว ชมุ ชน
และสงั คมใหน้ านทสี่ ดุ โดยรฐั ใหห้ ลกั ประกนั การเขา้ ถงึ บรกิ ารและสวสั ดกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและทวั่ ถงึ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54