Page 23 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 23
แหลง่ ชว่ ยค้นคว้าประเภทสารานุกรม พจนานกุ รมและศัพทบ์ ัญญตั ิ และนามานกุ รม 6-13
ทีละเล่ม องค์การสารสนเทศที่มีงบประมาณสนับสนุนอย่างพอเพียง อาจจัดหาสารานุกรมท้ังในรูปของ
ส่ิงพิมพ์และออนไลน์ บางแห่งอาจเลือกที่จะซื้อเพียงรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง องค์การสารสนเทศท่ีมี
งบประมาณนอ้ ย หรอื องคก์ ารสารสนเทศขนาดเลก็ อาจเลอื กทจ่ี ะซอ้ื สารานกุ รมทร่ี าคาไมส่ งู นกั และมงุ่ เนน้
ทก่ี ารเขา้ ถงึ สารานกุ รมออนไลนท์ ใ่ี หบ้ รกิ ารโดยไมค่ ดิ คา่ ใชจ้ า่ ย แตม่ ขี อ้ จำ� กดั คอื การใชส้ ารานกุ รมออนไลน์
บางชอ่ื โดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย จะไดข้ อ้ มลู เพยี งบางสว่ นหรอื แบบยอ่ ในทางกลบั กนั การลงทะเบยี นสมคั รเปน็
สมาชิกและชำ� ระค่าสมาชิก จะไดร้ ับขอ้ มลู ทีค่ รบถ้วนสมบูรณต์ ามต้องการ
2. การใช้สารานุกรม
การค้นหาสารสนเทศที่ต้องการจากสารานุกรมให้ได้ค�ำตอบอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพนั้น
ผู้ใช้ควรพิจารณาถึงประเดน็ ส�ำคัญต่างๆ ดังน้ี
2.1 ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ แบง่ ออกได้เปน็ 2 ลักษณะ คอื
2.1.1 ขอ้ มูลที่เป็นขอ้ เทจ็ จริง เป็นขอ้ มูลสั้นๆ ที่ไมต่ ้องการคำ� อธิบายมากนกั
2.1.2 ขอ้ มูลเกีย่ วกับประวัตคิ วามเปน็ มา และวิวฒั นาการของเร่ืองตา่ งๆ เป็นคำ� ถามทต่ี ้อง
ประมวลข้อมูลต้ังแต่การค้นหาค�ำจ�ำกัดความ ค�ำอธิบายรายละเอียด ภาพประกอบ รวมถึงการเช่ือมโยง
ข้อมลู ไปยงั รายละเอยี ดที่เกยี่ วขอ้ ง
2.2 ประเภทของสารานุกรมและระดับผู้อ่าน เมื่อผู้ใช้มีค�ำถามเกี่ยวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึงและ
สามารถวิเคราะห์ความต้องการของตนได้ว่าต้องการหาค�ำตอบของค�ำถามในประเด็นใด หลังจากน้ัน
จงึ เลือกใชส้ ารานุกรมให้ถกู ตอ้ งตรงกับลกั ษณะคำ� ถามที่ตอ้ งการค้น เช่น ต้องการทราบวา่ ดวงอาทิตยอ์ ยู่
ห่างจากโลกเป็นระยะทางเท่าใด ควรเลอื กใชส้ ารานกุ รมท่ัวไป หรือต้องการข้อมลู ความรู้ดา้ นใดด้านหนง่ึ
เพื่อประกอบการท�ำวิจัยหรือรายงาน เช่น ต้องการค้นข้อมูลเก่ียวกับศิลปะการทอผ้าไทย ก็ควรเลือกใช้
สารานุกรมเฉพาะวชิ า เปน็ ต้น
2.3 การก�ำหนดค�ำค้น เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการคน้ หาสารสนเทศทต่ี อ้ งการทงั้ ทเ่ี ปน็ การคน้ หาจาก
สือ่ สงิ่ พิมพแ์ ละสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ การพจิ ารณาคัดเลือกคำ� ศพั ทท์ ีใ่ ช้แทนประเดน็ เน้อื หาทีต่ อ้ งการคน้ ผใู้ ช้
ควรคัดเลือกค�ำศัพท์หลายๆ ค�ำ ค�ำศพั ทท์ ่ีใชแ้ ทนประเดน็ เนือ้ หานี้ เรยี กวา่ ค�ำส�ำคัญ (keyword) ซ่ึงจะ
ใชเ้ ปน็ คำ� คน้ ตวั อยา่ งเชน่ ตอ้ งการคน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ศลิ ปะการทอผา้ ไทย ผใู้ ชค้ วรกำ� หนดคำ� คน้ ทห่ี ลากหลาย
เพอื่ ใหค้ รอบคลมุ เนอื้ หาใหม้ ากทสี่ ดุ ในกรณเี ชน่ นี้ คำ� คน้ ทใี่ ชอ้ าจกำ� หนดไดห้ ลายคำ� เชน่ การทอผา้ ผา้ ทอ
ผา้ ไหม การทอผา้ ไหม ผ้าฝา้ ย การทอผา้ ฝา้ ย ผ้าตีนจก เป็นตน้
2.4 เคร่ืองมือช่วยค้น การใชส้ ารานกุ รมโดยอาศยั เครือ่ งมือชว่ ยค้นสามารถจำ� แนกตามลกั ษณะ
การจดั ทำ� ได้ 2 ลักษณะ คอื
2.4.1 สารานุกรมฉบับพิมพ์ ในการคน้ หาขอ้ มลู จากสารานกุ รมผใู้ ชอ้ าจใชเ้ ครอื่ งมอื ชว่ ยคน้
ไดแ้ ก่ อกั ษรนำ� เลม่ คำ� แนะทส่ี นั หนงั สอื สารบญั และดรรชนชี ว่ ยคน้ ซงึ่ อยตู่ อนทา้ ยของเลม่ หรอื จดั ทำ� เปน็
เลม่ แยกตา่ งหาก ผใู้ ชค้ วรศกึ ษาคำ� อธบิ ายวธิ ใี ชเ้ นอื่ งจากสารานกุ รมแตล่ ะชอ่ื จะมลี กั ษณะเดน่ ทแี่ ตกตา่ งกนั ไป
ซ่ึงจะให้ข้อมูลวิธีใช้ท่ีส�ำคัญ หลังจากน้ันจึงพิจารณาเปรียบเทียบดูว่าค�ำค้นท่ีก�ำหนดนั้นเกี่ยวข้องหรือ
ตรงกบั หัวเรอ่ื งหรอื หวั ขอ้ ใดบ้าง เครอื่ งมือเหล่าน้จี ะน�ำผู้ใชไ้ ปยังเน้อื หาทต่ี ้องการภายในเล่ม