Page 24 - การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
P. 24

6-14 การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ
            2.4.2 	สารานกุ รมออนไลน์ การคน้ ขอ้ มลู จากสารานกุ รมออนไลน์ สามารถใชเ้ ครอื่ งมอื ชว่ ยคน้

ชนดิ ตา่ งๆ ซง่ึ มคี ำ� สงั่ คน้ มากมาย เชน่ การระบชุ ว่ งเวลา เรอื่ งและเหตกุ ารณ์ (timeline) การสำ� รวจเลอื กดู
(browse) ซง่ึ โดยทว่ั ไปสามารถคน้ ไดต้ ามลำ� ดบั อกั ษรหรอื ตามหวั ขอ้ เรอ่ื ง การคน้ หาขอ้ มลู จากสารานกุ รม
ออนไลนท์ ำ� ไดไ้ มย่ งุ่ ยาก เพยี งแตพ่ มิ พค์ ำ� คน้ ลงในชอ่ งคน้ (search box) หรอื เลอื กใชค้ ำ� สง่ั คน้ ตามทก่ี ลา่ ว
มาขา้ งต้น ผู้ใช้จ�ำเป็นต้องศึกษาวิธคี น้ และวิธีใช้สารานุกรมออนไลนแ์ ตล่ ะช่ือว่ามวี ิธกี ารคน้ หรือมีคำ� สงั่ คน้
อะไรบ้าง รวมถึงการพจิ ารณาถงึ ความครอบคลุมเนื้อหาของเรื่องทคี่ ้นดว้ ย เน่อื งจากสารานุกรมออนไลน์
บางช่ือใหบ้ รกิ ารโดยไมค่ ดิ ค่าใช้จา่ ย ส่วนบางช่ือจะตอ้ งสมคั รเป็นสมาชกิ และชำ� ระเงนิ จงึ จะไดร้ ับรหสั ผ่าน
(password) และเขา้ ค้นข้อมูลได้

กิจกรรม 6.1.2
       การประเมินแหลง่ ชว่ ยคน้ ควา้ ประเภทสารานุกรม มีหลกั เกณฑ์ในการพจิ ารณาอยา่ งไร

แนวตอบกิจกรรม 6.1.2
       การประเมินแหลง่ ช่วยค้นควา้ ประเภทสารานุกรมพิจารณาจากเกณฑ์ต่างๆ ไดแ้ ก่
       1. 	หลักฐานความน่าเช่ือถือ สามารถพิจารณาจากส�ำนักพิมพ์ผู้ผลิตหรือผู้เขียนบทความ โดย

พิจารณาว่าเป็นหน่วยงาน องค์การ ผู้รับผิดชอบจัดท�ำ หรือส�ำนักพิมพ์ที่มีช่ือเสียง มีผลงานและ
ประสบการณเ์ ปน็ ทยี่ อมรบั หรอื ไม่ หากเปน็ บคุ คลสามารถพจิ ารณาไดจ้ ากคณุ วฒุ ิ ประสบการณ์ และความ
เช่ยี วชาญ

       2. 	ขอบเขตเนอ้ื หา การพจิ ารณาขอบเขตเนอ้ื หาของสารานกุ รม แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
            2.1 การมุ่งเน้นเน้ือหาวิชา เปน็ การพิจารณาขอบเขตเน้อื หาของสารานกุ รม อาจพจิ ารณา

จากเนอ้ื หาของสารานุกรมว่าเนน้ หนกั ด้านใด ความสมบูรณ์ของเนือ้ หามีมากน้อยเพียงใด
            2.2 ระดับอายุ เป็นการพิจารณาขอบเขตเน้ือหาของสารานุกรมตามระดับอายขุ องผูใ้ ช้ เช่น

สารานกุ รมสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน หรอื สารานกุ รมสำ� หรบั ผใู้ หญ่ ความยากงา่ ยของเนอื้ หา ตลอดจนภาษา
ท่ใี ช้ในการน�ำเสนอขอ้ มลู เปน็ ต้น	

       3. 	ความถูกต้องของเนื้อหา พิจารณาจากวตั ถปุ ระสงคใ์ นการจัดทำ� ว่าเนน้ เนอ้ื หาด้านใด หรอื มี
เปา้ หมายในการผลติ สารานกุ รมส�ำหรบั ผใู้ ชร้ ะดบั ใด การน�ำเสนอเนอ้ื หาเปน็ ไปตามทร่ี ะบไุ วใ้ นวตั ถปุ ระสงค์
หรือไม่ ภาษาท่ใี ชม้ ีความเหมาะสมมากน้อยเพยี งใด

       4. 	ความทันสมัยของเน้ือหา พิจารณาได้จากปีที่ผลิต การปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยอาจท�ำได้
โดยปรับปรุงหรือผลิตสารานุกรมชุดใหม่ทั้งชุด หรือเลือกปรับปรุงเฉพาะเล่มใดเล่มหนึ่งในแต่ละปี ส่วน
การปรบั ปรงุ เนอ้ื หาของสารานกุ รมออนไลนส์ ามารถดำ� เนนิ การผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ การพจิ ารณาการปรบั ปรงุ
ของผจู้ ัดทำ� อาจพิจารณาจากความถ่ีในการปรบั ปรุงหรือมกี ารปรับปรงุ เน้อื หาตามที่ระบุไวห้ รือไม่

       5. 	ดรรชนีชว่ ยคน้ สารานกุ รมฉบบั พมิ พ์ สำ� นกั พมิ พผ์ ผู้ ลติ มกั จดั ทำ� ดรรชนชี ว่ ยคน้ เนอื้ หาภายใน
เล่ม โดยจัดท�ำไว้ตอนท้ายของเล่มหรือแยกเป็นเล่มดรรชนีต่างหาก ส่วนสารานุกรมออนไลน์จะมีดรรชนี
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29