Page 31 - พื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
P. 31

ระบบทอ่ ปั๊ม เครื่องอดั อากาศและเคร่ืองระบายอากาศ 14-21

เรื่องท่ี 14.1.3
การออกแบบระบบท่อและแบบแปลนระบบท่อ

       การออกแบบระบบท่ออย่างเป็นระบบและเป็นระเบียบ ถือเป็นลักษณะงานท่ีส�ำคัญประการหน่ึง
ในการจัดการระบบท่อให้ประหยัดมากที่สุดหรือเสียค่าใช้จ่ายน้อยท่ีสุด ในขณะเดียวกันสามารถใช้งานใน
การขนถา่ ยของไหลไดต้ ามตอ้ งการ และสามารถซอ่ มบำ� รงุ หรอื บำ� รงุ รกั ษาระบบไดอ้ ยา่ งสะดวก ไมย่ งุ่ ยาก
พร้อมกนั ไปดว้ ย

       1. 	การออกแบบระบบทอ่ การออกแบบระบบทอ่ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คอื การออกแบบ
ระบบท่อลม และการออกแบบระบบท่อนำ้�

            1.1 	การออกแบบระบบท่อลม ในท่ีนี้จะกล่าวถึงระบบท่อส�ำหรับคอมเพรสเซอร์ ซึ่ง
คอมเพรสเซอรม์ อี ยดู่ ว้ ยกนั หลายชนดิ เชน่ คอมเพรสเซอรล์ กู สบู คอมเพรสเซอรก์ รโู รตารี่ คอมเพรสเซอร์
เวนโรตารี่ เปน็ ตน้ ทง้ั นยี้ งั ประกอบดว้ ยอปุ กรณเ์ พอ่ื ใชส้ ำ� หรบั ปรบั สภาพลมอดั หรอื กา๊ ซอดั ไดแ้ ก่ อนิ เตอร์
คเู ลอร์ อาฟเตอรค์ เู ลอร์ แดมเพน็ เนอร์ อปุ กรณแ์ ยกนำ้� ถงั เกบ็ ตวั ระงบั เสยี งหรอื ตวั เกบ็ เสยี ง และตวั กรอง

                1.1.1 	ขนาดเส้นท่อส�ำหรับดูดอากาศและจ่ายอากาศ ขนาดเสน้ ทอ่ ทร่ี ะบใุ นทนี่ ถ้ี อื วา่
เปน็ ขอ้ มูล เพื่อเปน็ แนวทางในการคำ� นวณทางวิศวกรรม

                     1)	เส้นท่อด้านดูด (suction lime) เส้นท่อทางดูดและท่อทางเข้าต่างๆ ควรมี
ขนาดโตเพียงพอ เพอ่ื ป้องกันเสยี งไม่ใหด้ ังเกินไป และเปิดใหอ้ ากาศเขา้ ไดอ้ ย่างเพียงพอ ถ้าขัน้ ตอนแรก
เปน็ แบบลกู สบู เส้นท่อด้านดูดควรสามารถจ่ายอากาศเขา้ ได้ประมาณ 3-7 เมตร/วินาที

                     ถา้ คอมเพรสเซอรเ์ ปน็ ชนดิ ลกู สบู ขนั้ ตอนเดยี ว อตั ราการไหลเขา้ ไมค่ วรเกนิ กวา่
6 เมตร/วนิ าที สำ� หรบั คอมเพรสเซอรเ์ ชงิ พลวตั ถงึ แมว้ า่ สามารถใชง้ านดว้ ยอตั ราการไหลทม่ี ากกวา่ แตไ่ ม่
ควรเกนิ 12 เมตร/วินาที โดยตวั ลดขนาด (Reducer) ทีท่ างเข้าส�ำหรบั คอมเพรสเซอร์ชนิดพลวัตควรนำ�
มาวางใหช้ ดิ กับนอซเซิลทางเข้า (inlet nozzle)

                     2)	เส้นท่อด้านทางออก (discharge (supply) line) เส้นท่อด้านทางออกจะ
ก�ำหนดขนาดส�ำหรับอัตราการไหลเฉลี่ย 150 ถึง 175% ของปริมาณนำ้� เข้า ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับจ�ำนวนของ
ทางออกที่ใช้ โดยความดนั ลดในท่อสาขาควรจ�ำกัดไม่ให้เกนิ 20 กิโลปาสคาล และความดันลดในทอ่ อ่อน
(hose) ไม่ควรเกิน 35 กิโลปาสคาล ส�ำหรับความดันลดในระบบท่อจ่ายลมจากคอมเพรสเซอร์ถึงส่วนท่ี
ไกลทส่ี ุดของระบบไม่ควรเกนิ 35 กโิ ลปาสคาล (ไมร่ วมของท่ออ่อน)

                1.1.2 	การวางแนวท่อและการติดต้ังคอมเพรสเซอร์ มหี ลักเกณฑ์ ดงั นี้
                     1)	การตดิ ตงั้ คอมเพรสเซอรใ์ หต้ ดิ ตง้ั บนแผน่ คอนกรตี หรอื โครงสรา้ งทย่ี กสงู ขน้ึ มา

โดยมกั มกี ารตอกเสาเขม็ ในสว่ นทจ่ี �ำเปน็ ของฐานรากด้วย
                     2) คอมเพรสเซอร์ลูกสูบขนาดใหญ่ มักติดต้ังบนโครงสร้างท่ียกสูง เพื่อให้

สามารถเขา้ ถงึ วาลว์ ตา่ งๆ และมพี นื้ ทสี่ ำ� หรบั จดั วางระบบทอ่ โดยควรจดั ใหม้ ฐี านทำ� งาน สำ� หรบั การปฏบิ ตั งิ าน
และการบำ� รงุ รักษา
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36