Page 34 - พื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
P. 34
14-24 พ้นื ฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลสำ� หรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ด้านบน ไอโซเมตริก
ด้านขา้ ง ระดับ มมุ เฉียง
ก. ออรโ์ ธกราฟกิ ข. รูปภาพ
ภาพที่ 14.4 รูปแบบในการเขียนแบบแปลนทใ่ี ช้งานต่างๆ
ที่มา: ตระการ กา้ วกสกิ รรม. (2540). วศิ วกรรมระบบท่ออตุ สาหกรรม. หนา้ 190.
2.1 แบบแปลนอ่ืนๆ ที่มีผลต่อการจัดท�ำแบบแปลนระบบท่อ จดุ มงุ่ หมายของแบบแปลน
ระบบทอ่ คอื การใหร้ ายละเอยี ดขอ้ มลู ขา่ วสารทท่ี �ำใหส้ ามารถกอ่ สรา้ งได้ เรมิ่ แรกกอ่ นจะจดั ท�ำแบบแปลน
ระบบทอ่ ตอ้ งมกี ารจัดเตรยี มแบบแปลนจัดวางอปุ กรณ์ และแบบแปลนที่ตัง้ (site plan) ขึ้นมาก่อน และ
จากแบบแปลนท้ังสองน้ีน�ำมาจัดท�ำเป็นแบบแปลนโครงร่างหรือพล็อตแผน (plot plan) ซึ่งทั้งสามแบบ
แปลนจะถกู น�ำมาใชเ้ ปน็ พ้ืนฐานในการพฒั นาแบบแปลนระบบทอ่ ต่อไป
2.2 หลักการจัดท�ำแบบแปลนระบบท่อ โดยท่ัวไปมขี อ้ พิจารณา ดงั นี้
2.2.1 มาตราส่วน โดยปกติใช้มาตราส่วน 3/8 (น้วิ /ฟตุ ) หรือ 1: 30
2.2.2 การจัดพ้ืนท่ีบนผัง โดยท่ัวไปแล้วนิยมให้รายละเอียดท่ัวไปจัดไว้อยู่ในกรอบ
ด้านขวาล่าง ในส่วนด้านบนของกรอบจัดให้เป็นท่ีใส่ชนิดของวัสดุ ขอบซ้ายสุดของหน้ากระดาษ จัดไว้
ปเหรละือมใาชณใ้ น1ก 21าร -เ ข2ียนนว้ิแบไบว้เจพร่อืงิ เปน็ การเกบ็ เขา้ แฟ้มหากเปน็ แบบมาตรฐานมักมีขอบเหลอื ไว้ให้เสมอ ส่วนท่ี
2.2.3 รายละเอียดของฉากหลัง ใหเ้ ขยี นเปน็ เสน้ จางๆ จะชว่ ยไมใ่ หส้ บั สนกบั เสน้ ของ
ระบบท่อ
2.2.4 เส้นทางกระบวนการและเส้นทางบริการบนผังระบบท่อ ควรยึดหลัก ดงั นี้
1) กำ� หนดหมายเลขเสน้ ทางในทกุ ๆ ภาพ และใชห้ วั ลกู ศรแสดงทศิ ทางการไหล
2) ใช้การเขียนแบบท่อในลักษณะ “เส้นเดียว” และแสดงหมายเลขเส้นทางไว้
บนเสน้
3) หากมกี ารเปลยี่ นแปลงบรเิ วณไหน ใหแ้ สดงในขอ้ กำ� หนดเฉพาะของวสั ดุ ตาม
เสน้ ทางทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลง โดยปกตกิ ารเปลย่ี นแปลงจะแสดงถดั มาจากหนา้ แปลนของวาลว์ หรอื อปุ กรณ์