Page 32 - พื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
P. 32
14-22 พืน้ ฐานทางวิศวกรรมเครอื่ งกลสำ� หรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
3) จัดระบบท่อให้ชดั เจน และจดั ให้มีทวี่ า่ งเหนือศีรษะ
4) ใหใ้ ชข้ อ้ งอหรอื ทอ่ โคง้ รศั มยี าว ไมค่ วรใชข้ อ้ งอรศั มสี นั้ หรอื ทอ่ บากเชอ่ื ม (miter)
5) จัดวางคอมเพรสเซอร์ อุปกรณ์ประกอบต่างๆ และระบบท่อ เพื่อให้น�้ำ
สามารถระบายออกไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง
6) ให้ต่อทอ่ ระบายสำ� หรับกบั ดักแตล่ ะขน้ั ความดนั แยกออกจากกัน ต้องมัน่ ใจ
ว่าความดันท่ีกับดักแต่ละอันปล่อยออกมาจะมีค่าต�่ำกว่าความดันของระบบท่ีก�ำลังได้รับการระบายออก
นน่ั คือผลต่างความดนั ผ่านเชค็ วาล์วเข้าสกู่ บั ดักปกติ
7) ถ้าเป็นการอัดก๊าซที่เป็นมลพิษหรือเป็นอันตราย ต้องท�ำการระบายก๊าซที่
อาจร่วั ไหลออกจากซลี เพลาสเู่ ส้นทอ่ ด้านดูด เพ่ือหลีกเหลี่ยงการร่วั ออกสภู่ าวะบรรยากาศ
8) จัดให้มีพื้นที่ที่ต้องการส�ำหรับคอนโซลในการควบคุมน้�ำมันหล่อลื่น และ
นำ�้ มนั ซีลส�ำหรบั คอมเพรสเซอร์
1.2 ระบบท่อน�้ำ แบง่ เปน็ 2 ระบบดว้ ยกนั คอื 1) ระบบปดิ ซงึ่ เปน็ ระบบทนี่ ำ�้ ไหลเวยี นกลบั
และไมส่ มั ผสั กับบรรยากาศ 2) ระบบเปิดเปน็ ระบบซง่ึ นำ้� ไม่ไหลเวียนกลบั โดยนำ้� จะไหลไปสู่ทีเ่ กบ็ ทเ่ี ปดิ
สมั ผสั กับบรรยากาศ เช่น ถังของคลู ลิ่งเทาเว่อร์ หรอื แอรว์ อ้ ชเช่อร์ เป็นต้น
ในการออกแบบจะตอ้ งพจิ ารณาสิง่ ต่อไปนี้
1.2.1 ความดันลดผ่านท่อและวาล์ว (pipe friction loss) จะขน้ึ อยูก่ ับความเรว็ ของ
นำ�้ ที่ไหลในทอ่ ขนาดทอ่ ความราบเรียบของผวิ ในของท่อ และความยาวทอ่ การค�ำนวณความดันนนั้ ไม่
เพียงแตจ่ ะค�ำนึงถึงทอ่ เท่านั้น ยังจะต้องคดิ รวมความดนั ลดที่เกดิ จากวาลว์ ข้อต่อ และอปุ กรณ์อื่นๆ เช่น
พวกมเิ ตอรน์ ำ้� เปน็ ตน้
1.2.2 ความเร็วของน�้ำในท่อ (water velocity) จะพิจารณาตามชนิดของการใช้งาน
และพจิ ารณาถงึ อตั ราการกดั กรอ่ น (erosion) การกดั กรอ่ นในทอ่ เกดิ จากการกระแทกทผี่ วิ ในของทอ่ อยา่ ง
รวดเรว็ การกระแทกอาจเกดิ จากฟองอากาศ ทราย หรอื สารแขวนลอยตา่ งๆ สว่ นทไี่ ดร้ บั อนั ตรายจากการ
กัดกร่อนมากทีส่ ดุ คือ ตามข้องอ และอาจจะเปน็ สว่ นล่างของท่อ
เนอ่ื งจาก การกดั กรอ่ นจนเสยี หายนนั้ เกยี่ วขอ้ งกบั เวลาดว้ ย จงึ มผี หู้ าขอ้ มลู จากประสบการณ์
และได้รวบรวมเปน็ ตารางอายกุ ารใชง้ านเก่ียวขอ้ งกับความเรว็ ของนำ�้ ไหลในท่อ ดงั แสดงในตารางท่ี 10.2