Page 12 - วิถีไทย
P. 12

3-2 วิถไี ทย

              แผนการสอนประจ�ำหน่วย

ชุดวิชา 	 วถิ ไี ทย
หน่วยท่ี 3 	 ภาษาในวิถไี ทย
ตอนที่

       3.1 	แนวคดิ เก่ยี วกับภาษาในวถิ ีไทย
       3.2		การเปลย่ี นแปลงภาษาและความหลากหลายของภาษาในวิถีไทย
       3.3 	ค�ำยมื ในวิถไี ทย

แนวคิด

       1. 	ภาษาเปน็ มรดกทส่ี ง่ั สมขนึ้ จากวถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ทม่ี พี ฒั นาการและสอดรบั กบั สงั คม ภาษายงั
          เปน็ เครือ่ งสบื ทอดมรดกทางวัฒนธรรมเพราะภาษาสะท้อนให้เหน็ ความเชื่อ โลกทศั น์ สภาพ
          ความเปน็ อยู่ และสภาพแวดลอ้ ม ภาษาจงึ เปน็ สว่ นสำ� คญั หนง่ึ ในวถิ ไี ทยทแี่ ยกออกจากวถิ ชี วี ติ
          และสังคมไมไ่ ด้

       2. 	ภาษามกี ารเปลยี่ นแปลงหลายดา้ น ทเ่ี หน็ ไดจ้ ากการศกึ ษาภาษาเชงิ ประวตั คิ อื การเปลยี่ นแปลง
          ค�ำและความหมายของค�ำ  การเปลี่ยนแปลงด้านส�ำนวน การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็น
          พัฒนาการของภาษาในวิถีไทย ภาษาในวิถีไทยมีความหมายหลากหลายแบ่งได้เป็นความ
          หลากหลายของภาษาและภาษาถน่ิ อนั เนอ่ื งมาจากปจั จยั ดา้ นชาตพิ นั ธแ์ุ ละภมู ศิ าสตร์ นอกจากน้ี
          ภาษายงั มีความหลากหลายในดา้ นการใชภ้ าษา ทั้งการหลากคำ� และการแปร

       3. 	ค ำ� ยมื ในภาษาไทยแบง่ กวา้ งๆ ไดเ้ ปน็ คำ� ยมื จากภาษาตะวนั ออกทสี่ ำ� คญั คอื คำ� ยมื ภาษาบาล-ี
          สันสกฤต เขมร จีน และค�ำยืมจากภาษาตะวันตกคือค�ำยืมภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส
          การศึกษาเรื่องค�ำยืมช่วยฉายให้เห็นภาพความสัมพันธ์ของวิถีไทยกับชาติต่างๆ ได้ทางหนึ่ง
          ดว้ ย

วัตถุประสงค์

       เม่ือศึกษาหนว่ ยท่ี 3 จบแลว้ นักศกึ ษาสามารถ
       1. 	อธบิ ายแนวคดิ เก่ยี วกับภาษาในวถิ ไี ทยได้
       2.	 อธิบายลักษณะการเปล่ียนแปลงค�ำและความหมายของภาษาในวิถีไทยได้ และอธิบายการ

          เปลย่ี นแปลงส�ำนวนในวิถไี ทยได้
       3. 	ระบคุ �ำยืมภาษาต่างประเทศในวิถีไทยได้
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17