Page 15 - วิถีไทย
P. 15

ภาษาในวถิ ีไทย 3-5

เร่ืองที่ 3.1.1
ลักษณะภาษาในวิถีไทย

       ภาษาเป็นมรดกท่ีมนุษย์สั่งสมข้ึนจากวิถีการด�ำเนินชีวิตเพ่ือใช้สื่อสารระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล
และสงั คม ในระยะแรกภาษาใช้ถ้อยคำ� ในการสือ่ สารคอื ภาษาพดู นน่ั เอง ต่อมาจงึ วิวัฒนข์ ึ้นเป็นการสือ่ สาร
ดว้ ยภาพ จนสรา้ งสรรคข์ น้ึ เปน็ ตวั อกั ษร สำ� หรบั การสอื่ สารโดยใชภ้ าษามที ง้ั การพดู ภาพ สญั ลกั ษณ์ และ
งานเขยี น อย่างไรกด็ ีเน้ือหาในหน่วยการสอนนีเ้ น้นภาษาถอ้ ยคำ� หรือภาษาพูดและภาษาเขียน เนื่องจาก
ภาษาประเภทอ่นื ๆ มลี ักษณะเฉพาะทม่ี ีรายละเอยี ดย่อยแตกต่างกนั ไปตามบรบิ ท

       ภาษาในวถิ ไี ทยมรี ายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยมากพอควร อาทิ ภาษามรี ะดบั การใชต้ ามบคุ คลและโอกาส
ภาษาแบง่ เปน็ ภาษาพดู และภาษาเขยี น ทล่ี กั ษณะบางประการสอดรบั กนั แตก่ ม็ บี างสว่ นทต่ี า่ งไป หรอื ภาษา
แบง่ เป็นภาษายอ่ ยๆ หลายภาษา อย่างไรกด็ ีการกล่าวถึงลักษณะภาษาในวถิ ีไทยจะกลา่ วถึงบางประการ
ท่สี อดรบั และสะท้อนวถิ ีไทย ดงั จะกล่าวรายละเอยี ดต่อไป

       ลกั ษณะภาษาในวถิ ไี ทยทจ่ี ะกลา่ วถงึ ประเดน็ แรกคอื ภาษาในวิถีไทยมีพัฒนาการและแบ่งได้ตาม
ยุคสมัย ภาษามีววิ ฒั นแ์ ละพัฒนาการต่อเน่อื ง เมื่อพินจิ ภาษาไทยจะพบความตา่ งของภาษาในแต่ละช่วง
เวลา ทง้ั นก้ี ารแบง่ ชว่ งสมยั ของภาษาไมไ่ ดใ้ ชเ้ กณฑด์ า้ นประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ หลกั แตพ่ จิ ารณาจากภาษาเปน็
เกณฑส์ ำ� คญั เชน่ ภาษาไทยสมยั ตน้ อยธุ ยายอ่ มแตกตา่ งจากภาษาไทยสมยั ปจั จบุ นั อยา่ งไรกด็ ใี นหวั เรอ่ื งนี้
จะแบง่ ภาษาตามลกั ษณะของภาษาทีม่ พี ฒั นาการตามล�ำดบั คอื 1) ภาษาไทยสมัยสโุ ขทยั 2) ภาษาไทย
สมยั อยธุ ยา และ 3) ภาษาไทยสมยั รัตนโกสนิ ทร1์ ภาษาไทยสมัยสโุ ขทยั มกั ใชค้ ำ� เดี่ยว บางคำ� ยังคงใชอ้ ยู่
ในปัจจบุ ัน บางค�ำเป็นส่วนหนง่ึ ของคำ� ประสม และบางคำ� ก็ไมป่ รากฏใช้แล้ว ดงั ตัวอยา่ ง

    เหน็ ขา้ วทา่ นบใ่ คร่พนี เห็นสนิ ทา่ นบ่ใครเ่ ดอื ด  (จารกึ สุโขทัยหลักท่ี 1 ดา้ นท่ี 1 บรรทัดท่ี 27)
       ขอ้ ความทปี่ รากฏในจารกึ มคี วามหมายวา่ “เหน็ ขา้ วคนอน่ื อยา่ ยนิ ดี (เพราะอยากได)้ เหน็ ทรพั ย์

คนอื่นอย่ายินร้าย” ข้อความข้างต้นใช้ค�ำเด่ียว โดยมีค�ำท่ียังใช้อยู่ในปัจจุบันคือ เห็น, ข้าว, ท่าน, บ่
(ค�ำภาษาถ่ินแปลว่า “ไม”่ ), ใคร่, เดือด สว่ นค�ำท่ียังใช้อยแู่ ตเ่ ป็นส่วนของคำ� ประสมคือคำ� วา่ สิน ท่พี บใน
ค�ำประสมวา่ “ทรพั ยส์ ิน” หรือ “สินไหม” ในขณะทค่ี ำ� ว่า พนี ไม่ปรากฏในปจั จบุ นั แลว้ มีความหมายว่า
“ยนิ ด”ี

       ภาษาไทยสมัยอยธุ ยาเร่มิ ตง้ั แต่สมัยสมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ 1 จนถงึ สมัยพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั -
เกล้าเจ้าอยู่หัว เหตุที่จัดภาษาท่ีใช้ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นภาษาไทยสมัยอยุธยาเน่ืองจาก
ภาษาไทยในสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 3 เป็นภาษาที่สืบเนื่องมาจากภาษาสมัยอยุธยาและมีลักษณะ

         1 อ�ำนาจ ปักษาสขุ . ภาษาไทยจาก “สโุ ขทัย” ถึง “รตั นโกสินทร”์ ใน www. arts.tu.ac.th/culture/010357.pdf สืบคน้
เมือ่ 28 มนี าคม 2560.
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20