Page 16 - วิถีไทย
P. 16
3-6 วิถไี ทย
ภาษาทใี่ กลเ้ คยี งกนั 2 ภาษาไทยสมยั นปี้ รากฏคำ� ยมื ภาษาบาลี สนั สกฤต และเขมรจำ� นวนมาก ดงั ตวั อยา่ ง
วรรณคดีเรอื่ งลิลติ พระลอ
สองผจงอาราธนไหว้ อารกั ษ์
ขอท่านแสดงสิทธิศกั ด ์ิ อยา่ กงั้
ขอเปน็ ทพี่ ำ� นัก นิตยแด่ เผือนา
ขอพระปเู่ จา้ ตัง้ แตง่ ใหเ้ ปน็ ตวั ฯ
คำ� โคลงขา้ งตน้ ปรากฏคำ� บาลสี ันสกฤตหลายค�ำ เชน่ อาราธน- อารักษ์ สิทธิศักดิ์ นติ ย และยงั
ปรากฏคำ� เขมร คอื ผจง แปลวา่ “ต้งั ใจท�ำ ท�ำให้ดี ท�ำให้เรยี บร้อย” แสดง แปลว่า “ชดั แจ้ง” และค�ำว่า
พำ� นกั แปลวา่ “ทพ่ี ัก” ภาษาไทยสมัยอยุธยาท่ยี กตวั อยา่ งข้างต้นแสดงถงึ ปฏิสมั พันธ์ของภาษาไทยกบั
ภาษาภายนอกท่เี ขา้ มามีบทบาทในวิถีไทย
สำ� หรบั ภาษาไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ เรมิ่ ตงั้ แตส่ มยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปน็ ตน้ มา
ภาษาไทยสมัยนี้เร่ิมมีค�ำยืมภาษาตะวันตกในวิถีไทยท่ีวัฒนธรรมและอารยธรรมดังกล่าวไหลเข้าสู่วิถีไทย
ในปจั จบุ นั คำ� ยมื ภาษาตะวนั ตกโดยเฉพาะภาษาองั กฤษยงิ่ ทวบี ทบาทสำ� คญั ตอ่ การสอ่ื สาร หากตดั คำ� เหลา่ น้ี
ออกคงทำ� ใหก้ ารสอื่ สารเปน็ ไปโดยความลำ� บาก เพราะคำ� ยมื กลมุ่ นถี้ กู ใชเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของวถิ แี หง่ การสอ่ื สาร
ที่ส�ำคัญร่องรอยหลักฐานค�ำยืมที่ปรากฏในวิถีและสังคมไทยได้สะท้อนปฏิสัมพันธ์ของวิถีไทยกับสังคม
ภายนอก
ลกั ษณะภาษาในวถิ ไี ทยทีจ่ ะกลา่ วถึงประเด็นตอ่ มาคอื ภาษาในวิถีไทยสอดรับกับลักษณะสังคม
สภาพสงั คมไทยเปลยี่ นแปลงไปตามยคุ สมยั เมอื่ พจิ ารณาในภาพกวา้ งอาจแบง่ สงั คมเปน็ สมยั จารตี กบั สมยั
ปัจจุบัน ค�ำที่ใช้เรียกบุคคลในสมัยจารีตแบ่งตามสถานภาพเป็นส�ำคัญ อาทิ ค�ำท่ีใช้แก่พระมหากษัตริย์
เจา้ ขนุ มลู นาย ไพร่ ทาส กลา่ วเฉพาะทาสยงั มคี ำ� เรยี กทแี่ บง่ เปน็ หลายประเภททงั้ ทาสสนิ ไถ่ ทาสในเรอื นเบย้ี
ทาสเชลย ชื่อเรียกทาสหลายประเภทสะท้อนความจ�ำเป็นในวิถีและสังคมท่ีต้องจ�ำแนกสถานภาพบุคคล
เปน็ กลุม่ ยอ่ ยๆ เพราะตา่ งกัน อยา่ งไรก็ดีช่ือเรยี กท่บี ่งสถานภาพของบคุ คลเหลา่ นี้ไมจ่ �ำเปน็ แล้วในภาษา
ปัจจุบัน เน่ืองจากระบบการแบ่งชนช้ันของบุคคลถูกยกเลิก เมื่อไม่จ�ำเป็นจึงเลิกใช้ไปในที่สุด ในปัจจุบัน
สถานภาพของบุคคลในสังคมเทา่ เทียมกนั คือประชาชนของรัฐ
ภาษาในวถิ ไี ทยทสี่ อดรบั กบั ลกั ษณะสงั คมยงั สะทอ้ นความคดิ ของคนในสงั คมไดท้ างหนงึ่ ดว้ ย โดย
เฉพาะผนู้ ำ� ของสงั คม ในชว่ งทผ่ี นู้ ำ� มอี ำ� นาจเบด็ เสรจ็ สามารถชน้ี �ำสงั คม ภาษากส็ อดรบั กบั ลกั ษณะดงั กลา่ ว
โดยบางสว่ นยงั คงตกทอดมาจวบปัจจบุ ัน ดังเช่นในช่วงสมัยจอมพล ป. พบิ ูลสงคราม สังคมไทยอยู่ในยุค
ชาตนิ ยิ ม โดยปลกู ฝงั ใหป้ ระชาชนนยิ มใชส้ นิ คา้ ไทย และสรา้ งคำ� ขวญั ในการสรา้ งคา่ นยิ มดงั กลา่ ววา่ ไทยทำ�
ไทยใช้ ไทยเจริญ และก�ำหนดให้ใช้สรรพนามแสดงความเท่าเทียมกันของคนในสังคม คือ ฉัน แทน
ตวั ผพู้ ูด เธอ ท่าน แทนตวั ผู้ฟัง และ เขา แทนตวั ผู้ถกู กล่าวถึง อีกทง้ั กำ� หนดให้ใชค้ ำ� ทักทายทแ่ี สดงถึง
2 เรือ่ งเดียวกัน.