Page 20 - วิถีไทย
P. 20

3-10 วถิ ไี ทย

       “เมอื่ สนิ้ กลั ป์ ไฟไหมล้ า้ งโลก ดบั ลงแลว้ หมพู่ รหมทส่ี น้ิ บญุ ลงมาเกดิ เปน็ มนษุ ย์ กนิ งว้ นดนิ
แลว้ เกดิ อกุศล อายทุ ่ียนื ถึงอสงไขยปีก็จะลดลงมาเรื่อยๆ ย่งิ ทำ� อกศุ ลมากอายุก็จะลดลงมาจนเหลือ
สบิ ปตี าย เมอ่ื ใดมนษุ ยส์ ำ� นกึ ถงึ บญุ บาปและทำ� บญุ ไมท่ ำ� บาป อายกุ จ็ ะยนื เพม่ิ ขน้ึ ไปใหม่ สลบั กนั ไป
เชน่ นี”้

       ความเชื่อเรื่องบุญ-บาปในไตรภูมิพระร่วงข้างต้นสะท้อนความเชื่อในวิถีส�ำคัญหนึ่งของไทยคือ
ผลของการทำ� บญุ -บาปอนั สง่ ตอ่ ถงึ กรรมในแตล่ ะบคุ คล ความเชอ่ื ในมโนทศั นข์ องคนไทยมวี า่ บคุ คลใดทำ� ดี
ประพฤตดิ ี ย่อมได้ผลกรรมดี บคุ คลใดคิดรา้ ย ประพฤติชว่ั ยอ่ มไดผ้ ลกรรมช่วั วถิ แี ห่งความเชื่อในเร่ือง
บญุ -บาป ทเ่ี ปน็ ผลกรรม ยงั คงสบื ทอดและสง่ ผา่ นตอ่ กนั มาในสมยั หลงั กลา่ วคอื ในชว่ งสมยั อยธุ ยาความเชอ่ื
ดังกลา่ วมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การด�ำเนินชีวิตของผู้คน ซึง่ คนในสมยั อยุธยามุ่งหวังดบั ทุกข์ ละกิเลส ดังปรากฏใน
วรรณคดไี ทยหลายเรอ่ื ง อาทิ พระมาลยั คำ� หลวง มหาชาตคิ ำ� หลวง และลลิ ติ พระลอ ซงึ่ เปน็ วรรณคดสี ะทอ้ น
ความเช่ือเรื่องกรรม5 แม้ว่าข้อสันนิษฐานช่วงสมัยท่ีแต่งของวรรณคดีนี้จะยังไม่แน่ชัดว่าอยู่ในช่วง
สมยั อยธุ ยาหรอื ตน้ รตั นโกสนิ ทรก์ ต็ าม แตเ่ นอ้ื หาในบางชว่ งกส็ ะทอ้ นความเชอ่ื เรอ่ื งบญุ -บาป ซงึ่ ความเชอื่
ดังกลา่ วเป็นสว่ นหนึ่งของวิถคี วามเชือ่ ในบรบิ ทสงั คมไทย ดังตัวอยา่ ง

                	 ใดใดในโลกล้วน	     อนจิ จัง
                คงแต่บาปบญุ ยงั 	    เทย่ี งแท้
                คอื เงาติดตัวตรงั 	  ตรึงแน่น อยู่นา
                ตามแตบ่ าปบุญแล้	    ก่อเกอื้ รักษา

       ตวั อยา่ งที่ยกมาสะท้อนความเช่อื เรื่องบญุ -บาปทผ่ี ูกติดยดึ โยงอยใู่ นความเช่อื ของคนไทย อกี ท้งั
ในวิถีแห่งไทยยังคงความเช่ือว่าเรื่องบุญ-บาปว่าบุคคลที่ก่อบาปไว้มากย่อมได้รับผลกรรมชั่ว ส่วนบุคคล
ทกี่ อ่ รา่ งสรา้ งกศุ ลยอ่ มไดร้ บั ผลกรรมแหง่ ความดี ภาษาลายลกั ษณป์ ระเภทวรรณคดจี งึ สะทอ้ นความเชอื่ ใน
สังคมตั้งแตอ่ ดตี จวบจนปัจจุบนั ไดท้ างหนึ่ง

       ในวิถีไทยนอกจากความเชื่อเรื่องบุญ-บาปยังมีความเช่ือเร่ืองอ�ำนาจลึกลับเหนือธรรมชาติ โดย
เฉพาะความเชอื่ เรอื่ งและการนับถือผสี าง เทวดา และบรรพบุรุษ แม้มีผสู้ นั นษิ ฐานวา่ ความเช่ือดงั กล่าวอยู่
คูก่ บั วิถีไทยตัง้ แต่โบราณ เนื่องจากเม่ือคนประสบภยั ธรรมชาติรนุ แรง ไม่ทราบต้นเหตวุ ่ามาจากส่งิ ใด จงึ
นกึ วา่ เป็นเพราะผหี รอื เทวดา ซ่งึ มอี �ำนาจอยเู่ หนอื ตนเปน็ ผบู้ นั ดาล ไม่เพียงแตค่ นไทยเท่าน้ันคนในสังคม
อ่ืนก็มีความเช่ือเรื่องผีสางเทวดา เป็นผู้มีอ�ำนาจในการให้คุณให้โทษแก่มนุษย์ได้ เหตุนี้จึงท�ำให้เกิดเป็น
ความเช่ือในพลังอ�ำนาจลึกลับเหนือธรรมชาติแฝงอยู่ในตัวมนุษย6์ ตามรูปศัพท์ “ผี” มีความหมายว่า

         5 ชบา อ่อนนาค. (2548). การศึกษาความเช่ือเรื่องกรรมในพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา: ศึกษากรณี
โรงเรยี นชลบรุ ี “สขุ บท” จังหวดั ชลบุรี วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบณั ฑิต. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ
ราชวิทยาลยั . น. 46.	

         6 อมรา พงศาพิชญ์. (2538). วฒั นธรรม ศาสนา และชาตพิ ันธ:์ุ วเิ คราะห์สงั คมไทยแนวมานษุ ยวทิ ยา. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั
พิมพ์คลังวิทยา. น. 7. และศิราพร ฐิตะฐาน. (2533). แนวคิดเก่ียวกับความเช่ือและศาสนาในสังคม. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา
ความเชอ่ื และศาสนาในสงั คมไทย. นนทบุร:ี สำ� นักพิมพ์มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. น. 8.
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25