Page 18 - วิถีไทย
P. 18
3-8 วถิ ไี ทย
จากการใช้ค�ำไวพจน์3 ท่ีอยู่ในภาษาไทย และท�ำให้ภาษามีความรุ่มรวยของถ้อยค�ำใช้ให้เหมาะกับการ
ส่ือสาร ความละเมยี ดละไมของถอ้ ยค�ำในภาษาสะท้อนความประณตี พถิ พี ิถนั แมก้ ระทัง่ การส่ือสารก็ต้อง
เลอื กใหถ้ ูกต้องและเหมาะสม ดังตวั อยา่ ง
คำ� ค�ำไวพจน์
กษัตริย์ ราชา ขตั ติยะ บพติ ร จกั รพรรดิ ภวู นาถ ประมุข นโรดม นรศิ อธปิ ภูมนิ ทร์
แม่น�้ำ วารี สาคร สมทุ ร อรรณพ นที มหรรณพ คงคา สินธุ์ อุทก อมั พุ ชโลทร
คำ� พดู วาจา วจี วัจนะ พจนา พากย์
ยักษ์ ราพณ์ อสรู อสุรา ยกั ษี ยักษา ยกั ษิณี กุมภัณฑ์
ปา่ พงไพร พนา ไพรวนั พนัส ชัฏ
ค�ำไวพจนท์ ่ีคัดมาข้างต้นเปน็ เพียงตัวอยา่ งบางส่วน ภาษาในวิถีไทยยังมคี ำ� กล่มุ นอี้ กี มาก คำ� ทม่ี ี
ความหมายว่า กษัตริย์ หรือ แม่น้�ำ นอกจากที่แสดงไว้ยังมีอีก อย่างไรก็ดีเม่ือพินิจค�ำไวพจน์ที่เสนอไว้
บางคำ� เป็นสว่ นของชื่อเฉพาะหรอื ค�ำประสมในชีวติ ประจำ� วัน เชน่ ชอื่ จังหวัดสมทุ รสาคร มคี วามหมายว่า
เมืองแห่งน�้ำ ชื่ออ�ำเภอพนัสนิคม แปลตามตัวอักษรหมายถึงหมู่บ้านแห่งป่า เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์
ระหว่างชื่ออ�ำเภอกับประวัติศาสตร์ก็สอดรับกันดี กล่าวคือพนัสนิคมสร้างข้ึนจากพ้ืนที่รกร้างว่างเปล่า
ระหวา่ งเมอื งชลบรุ กี บั ฉะเชงิ เทรา สว่ นคำ� วา่ ชฏั แปลวา่ “รกยงุ่ ไปหมด” ดเู หมอื นวา่ คนไทยจะคนุ้ เคยกบั
คำ� วา่ “รกชัฏ” มคี วามหมายเปรยี บเทียบหมายว่ารกเหมอื นป่าทบึ นั่นเอง
ความละเมียดละไมของถ้อยค�ำในภาษาไทยอีกประเด็นท่ีจะกล่าวถึงคือความรุ่มรวยของค�ำขยาย
บอกลักษณะที่จ�ำแนกได้หลายกลุ่ม เช่น ค�ำเรียกสี ค�ำบอกกิริยาอาการ ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงค�ำบอกรส ซ่ึง
เป็นค�ำกลุ่มหน่ึงที่บอกถึงโลกทัศน์ของกลุ่มคนจากการใช้ถ้อยค�ำเรียกรสที่สื่อนัยทางความหมายดังกล่าว4
คำ� บอกรสในภาษาไทยสะทอ้ นถึงวิถไี ทยในเร่อื งความละเมียดละไมในการจำ� แนกรสชาติ ดังตวั อย่าง
ความหมาย คำ� บอกรส
จืด ชืด จดื ชดื เซง็
รสออ่ น ขม ขน่ื เฝอื่ น ฝาด
รสฝดื คอ เปรย้ี ว จีด๊ จ๊าด ส้ม
รสเปร้ยี ว
3 ค�ำไวพจนค์ อื ค�ำทีเ่ ขียนตา่ งกันแตม่ ีความหมายเหมือนกันหรอื ใกล้เคยี งกนั เช่น สุนขั กบั หมา เพลงิ กบั ไฟ ในบางต�ำรา
อาจเรียกว่าค�ำพ้องความ
4 อมรา ประสทิ ธริ ัฐสินธ์ุ. (2545). ภาษาในสงั คมไทย. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . น. 45.